1.ระบบการขนถ่ายวัสดุ (Material Handling System)
วิวัฒนาการด้านการผลิตของอุตสาหกรรมประเภทต่างๆ ได้เจริญก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง ดังที่
ปรากฎในต าราหรือวารสารวิชาการต่างๆ ล้วนแต่เป็นเทคโนโลยีที่ทันสมัย และมีประสิทธิภาพสูงกว่า ซึ่งวิศวกรควร
ให้ความสนใจ และติดตามความเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา แต่เทคโนโลยีการผลิตที่ทันสมัยดังกล่าว อาจจะอยู่ใน
สภาพที่ด้อยสมรรถนะกว่าที่มีอยู่หรือไม่ อาจด าเนินการได้เต็มความสามารถ หากว่าขาดตัวแปร ที่ส าคัญตัวหนึ่งตัว
แปร ดังกล่าว ก็คือ การเคลื่อนที่ ดังที่เรียกว่า การขนถ่าย ที่เข้ามาสนับสนุนกระบวนการผลิต ตั้งแต่การน า
วัตถุดิบมายังโรงงาน ผ่านกระบวนการผลิต จนได้เป็นผลิตภัณฑ์ จะต้องมีการเคลื่อนที่ทั้งสิ้น หากว่าขาดการ
เคลื่อนที่แล้ว การผลิตย่อมไม่อาจเกิดขึ้นได้เลย ซึ่งการเคลื่อนที่นั้น ขึ้นอยู่กับว่า จะให้ปัจจัยการผลิตตัวใด
เคลื่อนที่ โดยอาจจะเป็นคน วัสดุ เครื่องจักร ตัวใดตัวหนึ่งเคลื่อนที่ หรือเคลื่อนที่ทุกตัว ไม่ว่าปัจจัยการผลิต
ตัวใดเคลื่อนก็ตาม หลักการส าคัญ ก็คือ ท าอย่างไรจึงจะท าให้การเคลื่อนที่หรือการขนถ่ายนั้น เป็นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพ อันเป็นค าถามที่วิศวกรขนถ่าย หรือผู้ที่เกี่ยวข้องต้องค านึงถึงตลอดเวลา เพราะปัญหาด้านการขน
ถ่ายวัสดุ มักจะเกิดขึ้นในโรงงานอยู่เสมอ เราไม่ได้มุ่งหวังที่จะก าจัดปัญหาการขนถ่ายให้หมดไป หากแต่พยายาม
ลดปัญหาให้น้อยลง กล่าวคือ ท าอย่างไรจึงจะท าให้การขนถ่ายเป็นไปอย่างสะดวก รวดเร็ว ปลอดภัย และ
ประหยัด ซึ่งกว่าจะถึงจุดนั้นได้ เราต้องทราบถึงตัวปัญหา และพยายามวิเคราะห์การขนถ่ายวัสดุอย่างเป็นระบบ
ในโรงงานอุตสาหกรรมการผลิต ซึ่งมีกระบวนการผลิตหรือกระบวนการแปลงสภาพ จากปัจจัยน าเข้า (Input)
ได้แก่ วัตถุดิบ เครื่องจักร อุปกรณ์ และสินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตน (Intangible Assets) เช่น แรงงาน ระบบการจัดการ
ข่าวสาร ทรัพยากรที่ใช้ จะต้องมีคุณสมบัติและประโยชน์ใช้สอยที่เหมาะสม และมีต้นทุนการผลิตที่ต่ า เพื่อให้สินค้า
ส าเร็จรูป สามารถแข่งขันทางด้านราคาได้ในท้องตลาด โดยผ่าน กระบวนการแปลงสภาพ (Conversion Process)
เป็นขั้นตอน ที่ท าให้ปัจจัยน าเข้าที่ผ่านเข้ามา มีการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ ได้แก่ กระบวนการผลิตในโรงงาน
การขนส่ง การเก็บเข้าคลังสินค้า การค้าปลีก การค้าส่ง การติดต่อสื่อสาร และสุดท้ายจนมาเป็น ผลผลิต
(Output) เป็นผลได้จากระบบการผลิตที่มีมูลค่าสูงกว่าปัจจัยน าเข้าที่รวมกัน อันเนื่องมาจากที่ได้ผ่านกระบวนการ
แปลงสภาพ ผลผลิต สินค้า (Goods) และบริการ (Service)
โดยภายในกระบวนการแปลงสภาพปัจจัยน าเข้าให้กลายเป็นสินค้าและบริการ ดังกล่าว เมื่อพิจารณาในแง่
ของการท างานภายในโรงงานอุตสาหกรรม มักจะเกี่ยวข้องอยู่ตลอดเวลากับการเคลื่อนที่ การเคลื่อนย้ายวัสดุต่าง ๆ
ที่ใช้ในกระบวนการผลิตทั้ง 3 องค์ประกอบ คือ ปัจจัยน าเข้า (Input), กระบวนการแปลงสภาพ (Conversion
Input Process Output
เอกสารประกอบการเร ียน วิชา การขนถ่ายว ัสด ุ 3100 – 01XX 2
Process) และผลผลิต (Output) โดยการเคลื่อนย้ายดังกล่าว เรียกกันว่า การขนถ่ายวัสดุ (Material Handling) ที่จะ
ล าเลียงส่วนต่าง ๆ ทั่วทั้งกระบวนการผลิต
ตั้งแต่การน าวัตถุดิบมา ถึงโรงงาน ผ่านกระบวนการผลิต จนได้เป็นผลิตภัณฑ์ หากขาดการขนถ่ายวัสดุ
แล้ว การผลิตจะไม่สามารถเกิดขึ้นได้เลย ดังนั้นการวิเคราะห์การขนถ่ายวัสดุจึงไม่ได้หมายถึง การก าจัดการขนถ่าย
ให้หมดไป หากแต่จะพยายามลดปัญหาให้น้อยลง โดยสรุปก็คือ ท าอย่างไรให้เป็นไปอย่างสะดวก รวดเร็ว
ปลอดภัย และประหยัด ฉะนั้น การขนถ่ายวัสดุ (Material Handling) จึงเป็นเรื่องของกระบวนการผลิตขององค์กรที่
ต้องให้ความส าคัญ และด าเนินการอย่างจริงจัง เพื่อการบริหารโซ่อุปทานในการผลิตของโรงงานให้เกิดประสิทธิภาพ
และประสิทธิภาพ
2. ความหมายของการขนถ่ายวัสดุ
การที่จะให้ได้มาซึ่งผลผลิตที่อยู่ในรูปของสินค้าและบริการนั้น จะเห็นว่า ในระบบการผลิต ต้องมีการ
เคลื่อนที่ ด้วยเหตุนี้ จึงมีระบบการขนถ่ายวัสดุเกิดขึ้น
ค าว่า การขนถ่ายวัสดุ(Materials Handling) หมายถึง การจัดเตรียมสถานที่และต าแหน่งของวัสดุเพื่อ
อ านวยความสะดวกในการเคลื่อนย้าย หรือเก็บรักษา ซึ่งการที่จะท าให้เกิดสิ่งเหล่านี้ได้ ต้องอาศัยศิลปะในการสรร
หาเครื่องมือและอุปกรณ์การขนถ่ายวัสดุมาใช้ให้เหมาะสม กับงาน นอกจากนั้น ยังต้องมีศิลปะในการออกแบบสร้าง
เครื่องมือหรืออุปกรณ์ต่างๆให้เหมาะสม และเป็นไปอย่างมีระบบตามหลักการ
ความส าคัญ ของการขนถ่ายวัสดุ ทางวิทยาศาสตร์หรือสรุปง่ายๆ ก็คือ ต้องอาศัยศิลปะและวิทยาศาสตร์ใน
การก าหนด วิธีการขนถ่ายวัสดุนั่นเอง
3. องค์ประกอบส าคัญของการขนถ่ายวัสดุ
ในระบบการขนถ่ายวัสดุ ควรค านึงถึงองค์ประกอบที่ส าคัญ 4 ประการ คือ
- การเคลื่อนที่ (Motion)
- เวลา (Time)
- ปริมาณ (Quantity)
- เนื้อที่ (Space)
รูปที่ 1 การขนถ่ายวัสดุกับองค์ประกอบที่ส าคัญ
การเคลื่อนที่
การขนถ่ายวัสดุ
ปริมาณ
เนื้อที่ เวลา
เอกสารประกอบการเร ียน วิชา การขนถ่ายว ัสด ุ 3100 – 01XX 3
1. การเคลื่อนที่ เป็นการเคลื่อนย้ายวัสดุสินค้า จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง หรือ คือการเคลื่อนย้ายวัสดุ-
สินค้าจากจุดต้นทาง (จุดที่เอาของขึ้น) ไปยังจุดปลายทาง (จุดที่เอาของลง) ซึ่งการเคลื่อนย้ายของวัสดุสินค้าแต่ละ
ประเภทย่อม มีการเคลื่อนที่ที่แตกต่างกันไป ท าอย่างไรจึงจะให้วิธีการเคลื่อนที่มีประสิทธิภาพสูงกว่า
2. เวลา นับเป็นปัจจัยที่ส าคัญตัวหนึ่ง เป็นตัวที่บ่งบอกถึงประสิทธิภาพของการเคลื่อนที่ว่า สูง-ต่ า แค่ไหน
ในแต่ละขั้นตอนของกระบวนการผลิต ต่างก็อาศัยเวลาเป็นตัวก าหนดการท างาน ทั้งการป้อนวัตถุดิบ และเอาชิ้นงาน
ออกที่มีความสัมพันธ์กันอย่างต่อเนื่อง นอกจากนั้น เวลายังเป็น ก าหนดการของการเคลื่อนที่ โดยอาจควบคุมที่จุดต้น
ทาง หรือจุดปลายทางก็ได้แล้วแต่กรณี
3. ปริมาณ วัสดุ-สินค้า ที่ต้องเคลื่อนที่ ต้องสัมพันธ์กับปริมาณความต้องการของจุดต่างๆ ต้องสอดคล้อง
กับเวลาที่เหมาะสมของระบบ และประหยัดค่าใช้จ่าย
4. เนื้อที่ เป็นองค์ประกอบที่ส าคัญของการเคลื่อนที่ เพราะว่าการเคลื่อนที่หรือการขนถ่ายวัสดุ จ าเป็นต้อง
ใช้เนื้อที่ส าหรับตั้งกลไกของระบบ การขนถ่ายวัสดุที่มีประสิทธิภาพต่อไป
องค์ประกอบส าคัญทั้ง 4 ประการ ดังกล่าว ต้องน ามาพิจารณาร่วมกัน เพราะเป็นองค์ประกอบพื้นฐาน
ของการขนถ่ายวัสดุ ที่จะน าไปสู่ระบบการขนถ่ายวัสดุที่มีประสิทธิภาพต่อไป
งานการขนถ่ายวัสดุ ประกอบด้วยหน้าที่หลัก 2 ประการ คืองานเคลื่อนย้ายวัสดุ และงานเก็บพักวัสดุ
1. งานเคลื่อนย้ายวัสดุ คือการเคลื่อนย้ายวัสดุ จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งในต าแหน่งที่ท างานเอง หรือ
ระหว่างต าแหน่งที่ท างาน ระหว่างเครื่องจักร ระหว่างแผนก ระหว่างโรงงาน หรือระหว่างอาคาร ตลอดจนการ
ขนวัสดุขึ้นและลง
2. งานเก็บพัสดุ คือ การเก็บพักวัตถุดิบที่ส่งเข้ามา ก่อนป้อนเข้ากระบวนการผลิต การเก็บพักวัสดุใน
ขั้นตอนงานผลิต ตลอดจนการเก็บผลิตภัณฑ์ส าเร็จรูป ก่อนที่จะส่งออกไปยังผู้ใช้
4. ขอบเขตการขนย้ายวัสดุ
ในการขนย้ายวัสดุนั้น เราสามารถด าเนินการได้หลายขอบเขต ซึ่งสามารถแบ่งออกได้ ดังต่อไปนี้
1. การขนย้ายบริเวณพื้นที่ท างาน
การขนย้ายประเภทนี้ เป็นลักษณะของการท างานที่ต้องการมาขนย้ายวัสดุเข้า –ออก ในพื้นที่การท างาน
จะเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่มีการผลิตเกิดขึ้น อาทิ พื้นที่การประกอบสินค้า พื้นที่การผลิตชิ้นงานเพื่อน าไปสู่
กระบวนการผลิตต่อไป ท าให้มีการเคลื่อนย้ายสินค้าตลอดเวลา หรือมีความถี่มากในการขนย้าย เพราะบริเวณ
ดังกล่าว มีพื้นที่จ ากัด บางโรงงานไม่สามารถน าวัสดุเพื่อประกอบชิ้นงานมารวมไว้ได้มาก จะต้องทยอยการ
เคลื่อนย้ายวัสดุมาต่อเนื่อง เพื่อมิให้เกิดปัญหาคอขวด (Bottle Neck) ในการผลิต
Warehouse
Production Station A Production Station B
Warehouse
เอกสารประกอบการเร ียน วิชา การขนถ่ายว ัสด ุ 3100 – 01XX 4
2. การขนย้ายภายในสายการผลิต
ในกระบวนการผลิตโรงงานอุตสาหกรรม โดยเฉพาะในกระบวนการผลิตแบบต่อเนื่อง (Continuous
Process หรือ Continuous Flow Production) เป็นการผลิตผลิตภัณฑ์ชนิดเดียวในปริมาณที่มากมายอย่างต่อเนื่อง
โดยใช้เครื่องจักรเฉพาะอย่าง ซึ่งมักจะเป็นการผลิตหรือแปรรูปทรัพยากรธรรมชาติให้เป็นวัตถุดิบ ในการผลิตขั้นตอน
ต่อไป เช่น การกลั่นน้ ามัน การผลิตสารเคมี การท ากระดาษ ฯลฯ ท าให้มีสถานีการผลิตหลายแห่งด้วยกัน
3. การขนย้ายระหว่างสายการผลิต
เมื่อกระบวนการผลิตในโรงงานเสร็จสิ้น จนได้วัตถุดิบเพื่อใช้ประกอบในขั้นตอนต่อไป การขนส่งวัสดุก็จะ
เริ่มขึ้น เพื่อน าชิ้นงานไปยังกระบวนการผลิตในสายการผลิตถัดไป ทั้งนี้ การขนย้ายระหว่างสายการผลิต จะไม่ได้
ค านึงถึงการขนถ่ายภายในของแต่ละสายการผลิต เช่น การขนถ่ายวัสดุจากสายการผลิตไปยังสถานประกอบการ
เป็นต้น
4. การขนย้ายระหว่างฝ่ ายในโรงงาน
โรงงานอุตสาหกรรมมักจะเกี่ยวข้องกับการท างานของทุกฝ่าย ตั้งแต่การวางแผนเริ่มการผลิต ซึ่งต้องมีความ
เกี่ยวข้องกับลูกค้า ที่ได้สั่งซื้อสินค้าของโรงงาน ฝ่ายขายซึ่งมีหน้าที่ประสานงานกับลูกค้าว่า จะเป็นลูกค้าระดับ
องค์กร หรือลูกค้าทั่วไป จะต้องมีหน้าที่ส่งค าสั่งซื้อรวมมาให้กับฝ่ายผลิต เพื่อที่จะวางแผนการผลิต เมื่อฝ่ายผลิต
ทราบปริมาณความต้องการของลูกค้าในสินค้าแล้ว ก็จะเริ่มกระบวนการวางแผนการผลิตในโรงงาน เพื่อให้สามารถท า
การผลิตได้ทันตามที่ลูกค้าต้องการ แต่ก่อนจะเริ่มต้นการผลิต ก็ต้องมีการสั่งซื้อวัสดุ หรือวัตถุดิบต่าง ๆ ที่ใช้ใน
กระบวนการผลิต โดยส่งข้อมูลไปยังฝ่ายจัดซื้อ เพื่อวางแผนการสั่งซื้อตามระบบของโรงงานอุตสาหกรรมที่มีอยู่ ให้ทัน
ตามความต้องการของฝ่ายผลิต และเริ่มการผลิตสินค้า จนเป็นสินค้าส าเร็จรูป น าสินค้าดังกล่าวมายังคลังสินค้าเพื่อ
รอส่งมอบให้กับฝ่ายขาย เพื่อส่งมอบสินค้าให้กับลูกค้าต่อไป
Production Station A Production Station A Production Station A
Production Station A Production Station A Production Station A
Production Station A Production Station A Production Station A
Production Line 1
Production Line 2
เอกสารประกอบการเร ียน วิชา การขนถ่ายว ัสด ุ 3100 – 01XX 5
ฉะนั้น การด าเนินกิจกรรม จะเกี่ยวข้องกับทุกฝ่ายในโรงงาน และเกี่ยวข้องกับการขนย้ายระหว่างฝ่ายผลิต
ฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายคลังสินค้า ฝ่ายขาย
5. การขนย้ายระหว่างโรงงาน
ในการผลิตสินค้าบางชนิดในอุตสาหกรรมนั้น ได้แบ่งเป็นหลายโรงงานอุตสาหกรรม เพื่อใช้ในการผลิตสินค้า
ชิ้นส่วนที่น ามาประกอบรวมเป็นสินค้าส าเร็จรูป โรงงานหนึ่งอาจท าหน้าที่ในการผลิตชิ้นส่วน เพื่อป้อนให้กับอีก
โรงงาน เพื่อน ามาใช้ในการผลิตจนเป็นสินค้าส ารูป (Finish Goods) เรื่องดังกล่าว จึงเป็นเรื่องที่ต้องเกี่ยวข้องกับการ
ขนย้ายระหว่างโรงงานจนไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้
โดยเฉพาะถ้าเป็นกรณีที่อยู่ต่างพื้นที่กัน การขนย้ายจึงเกี่ยวข้องกับการขนส่ง (Transportation) โดยตรงการ
จัดการระบบโลจิสติกส์ จึงต้องถูกน ามาใช้ในการขนย้ายระหว่างโรงงาน ซึ่งลักษณะการขนย้ายระหว่างโรงงาน โดย
โรงงานต้นน้ า (Down Stream) ที่ท าหน้าที่ในการผลิตวัตถุดิบ หรือวัสดุที่ใช้ในการผลิต จึงต้องมีแผนกที่จะขนส่งสินค้า
วัตถุดิบ ดังกล่าว เพื่อน าไปส่งให้กับโรงงานอุตสาหกรรม ที่ต้องน าสินค้า วัตถุดิบ ดังกล่าวใช้ไปผลิตต่อ ก็จะมีแผนก
รับสินค้ารองรับอยู่แล้ว โดยปกติ โรงงานอุตสาหกรรมมีกิจกรรมการขนย้าย การรับ –การส่ง สินค้าหรือวัตถุดิบอยู่
แล้ว
6. การขนย้ายระหว่างองค์กร
เมื่อผู้ผลิตสินค้า ได้ท าการผลิตสินค้าส าเร็จรูปออกมาแล้ว การขนส่งและเคลื่อนย้ายสินค้า ดังกล่าว จึง
เกิดขึ้น หลายบริษัทได้ด าเนินการใช้บริการผู้ให้บริการด้านการขนส่งสินค้า เพื่อตัดปัญหาเรื่องต้นทุนและการ
ด าเนินการออกไป โดยมักใช้ผู้ให้บริการขนส่งสินค้าเป็นผู้รับผิดชอบ ในการขนส่งสินค้า เพื่อส่งสินค้าไปยังลูกค้าต่อ ๆ
ไป โดยการขนย้ายในระดับบริษัทที่แต่ละบริษัทก็ท าหน้าที่เพิ่มมูลค่า เพื่อผลก าไรของตนเอง
การขนย้าย
ระหว่างฝ่ าย
Production
Marketing Purchasing
Warehouse
แผนกส่ง Factory A ผลิตชิ้นส่วน Factory B ประกอบสินค้าแผนรับ
Manufactures Logistics Service Providers Detailers
เอกสารประกอบการเร ียน วิชา การขนถ่ายว ัสด ุ 3100 – 01XX 6
7. การขนย้ายในระบบการขนส่ง
การขนย้ายในระบบการขนส่ง ถือว่าเป็นลักษณะการขนส่งที่ครบกระบวนซัพพลายเชน ของการบริหารการ
ผลิต ที่เริ่มตั้งแต่วัตถุดิบที่ได้มาจากผู้ผลิตวัตถุดิบ (Suppliers) ขนย้ายไปยังไปโรงงานผู้ผลิตสินค้า (Manufacturers)
เพื่อน ามาท าการผลิตสินค้า เกิดการขนย้ายภายในโรงงาน ในขณะที่เริ่มต้นกระบวนการผลิต โดยเมื่อท าการผลิต
เป็นสินค้าส าเร็จรูป ก็จะขนย้ายสินค้าจากโรงงานผู้ผลิตไปตัวแทนจ าหน่าย เพื่อน าไปจ าหน่ายและกระจายให้กับผู้ค้า
ส่ง และจากผู้ขายส่งไปยังผู้ค้าปลีก จากผู้ค้าปลีกไปยังสุดท้าย คือ ลูกค้าที่บริโภคสินค้า นอกจากนั้น ใน
กระบวนการผลิต นอกจากนั้นในโรงงานอุตสาหกรรมการผลิต เราก็มักจะพบปัญหาการผลิต ซึ่งยังมีของเสียหรือเศษ
วัสดุ ของเสีย จากโรงงานที่ยังต้องมีการก าจัดให้หมดไปตามมาตรฐานที่ทางภาครัฐก าหนดไว้
5. กฎของการขนถ่ายวัสดุ
ถ้าไม่มีการวางแผนที่ดี การด าเนินการผลิตไม่สอดคล้องกันและไม่สัมพันธ์กัน ท าให้เกิดความไม่สะดวก ล่าช้า
และต้องเสียค่าใช้จ่ายสูง ดังนั้นจึงได้ก าหนดกฎของการขนถ่ายวัสดุขึ้นมา ดังนี้
5.1 กฎของการวางแผนการขนถ่ายวัสดุ ( Planning Principle)
ควรมีการวางแผนในทุกกิจกรรมที่เกี่ยวกับการขนถ่ายวัสดุ ข้อแนะน าของการใช้กฎของการวางแผน
1. ควรหลีกเลี่ยงการวางวัสดุบนพื้นโดยตรง ควรมีแผ่นรอง (Pallet) เพื่อสะดวกในการขนถ่าย
2. ต้องมีพื้นที่ (Space) เพียงพอส าหรับการเก็บวัสดุบริเวณที่ท างาน
3. พิจารณาความสมารถในการรับน้ าหนักของพื้น ความสูงของเพดาน คาน และช่วงเสาของอาคารโรงงาน
4. ความกว้างของทางเดิน ช่วงระหว่างแนวเครื่องจักร ควรก าหนดให้ชัดเจน ไม่มีสิ่งของล้ าออกมา
5. ก าหนดบริเวณพื้นที่รอบที่ท างาน เพื่อสะดวกในการขนถ่าย
6. ฝึกอบรมพนักงานขนถ่ายแต่ละคนให้ท างานถูกต้อง ตามวิธีที่ก าหนด
7. ก าหนดต าแหน่ง รับ และ ออกของวัสดุ ของบริเวณที่ท างาน
8. หาวิธีใช้อุปกรณ์การขนถ่ายให้สอดคล้องกับการผลิต
9. ควรใช้แรงงานคนให้เหมาะสมกับการขนถ่ายวัสดุ และให้เกิดการเดินน้อยที่สุดในขณะขนถ่าย
แหล่งวัตถุดิบ โรงงานผู้ผลิต ตัวแทนจ าหน่าย ผู้ขายส่ง
ผู้ขายปลีก
ลูกค้า
ระบบบ าบัดและการน ากลับมาใช้
เศษวัสดุและของเสีย
ของเหลือ
คอขวด
เอกสารประกอบการเร ียน วิชา การขนถ่ายว ัสด ุ 3100 – 01XX 7
5.2 กฎของระบบการขนถ่ายวัสดุ( Systems Principle)
การวางแผนเกี่ยวกับระบบการขนถ่ายวัสดุนั้น ได้รวบรวมกิจกรรมต่างๆของการขนถ่ายวัสดุ ( การรับของ การเก็บ
การผลิต การตรวจสอบ การบรรจุหีบห่อ คลังสินค้า การส่งของ ฯลฯ) ให้มากที่สุด
1. ขอบเขตของกิจกรรมการขนถ่ายวัสดุทั้งหมดว่ามีอะไรบ้าง
2. วางแผนด้านการ าหลของวัสดุระหว่างพื้นที่ท างานต่างๆ หรือแผนกต่างๆ
3. รวมหน่วยท างานต่างๆของกระบวนการผลิตกับระบบขนถ่าย เช่น ท าไปด้วย ขนถ่ายไปด้วย
4. การขนถ่ายวัสดุไปยังฝ่ายผลิตโดยตรง ไม่ควรวางพักระหว่างทาง จะท าให้เดการขนถ่ายอีกครั้งหนึ่ง
5. ควรทราบถึงความต้องการในอนาคต เช่น การเปลี่ยนผลิตภัณฑ์ กระบวนการผลิต ปริมาณการผลิต เพื่อการ
ยืดหยุ่นของระบบอุปกรณ์การขนถ่าย
5.3 กฎของการไหลของวัสดุ( material – Flow Principle)
เป็นการวางแผนในการจัดหน่วยท างานต่างๆ ให้เป็นไปตามล าดับขั้นตอน หรือเป็นการจัดขั้นตอนการผลิต
นั่นเอง และวางแผนในการจัดวางอุปกรณ์ เพื่อให้ได้มาซึ่งการไหลของวัสดุที่เหมาะสมที่สุด ซึ่งเป็นหัวใจส าคัญมากกว่า
สิ่งใดในสิ่งอ านวยประโยชน์ของการผลิต นั่นคือการออกแบบการไหลของวัสดุ ข้อแนะน า มีดังนี้
1. หลีกเลี่ยงสภาพที่แออัด และต้องทราบถึงข้อจ ากัดต่างๆของอาคารโรงงานและอุปกรณ์ขนส่งต่างๆ
2. วางแผนการไหลให้เป็นเส้นตรงมากที่สุด และระยะสั้นที่สุด
3. จัดเส้นทางส ารองไว้ เผื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน
4. ก าหนดให้ชัดเจนว่ามีจุดตัดตรงไหน เพื่อป้องการจราจรติดขัด
5. หน่วยท างานใดที่มีความสัมพันธ์กันมาก ควรอยู่ใกล้ชิดกัน หากเป็นไปได้ ควรวางผังโรงงานตามชนิดของ
ผลิตภัณฑ์
6. วัสดุที่มีปริมาณและน้ าหนักมาก ควรให้มีระยะทางสั้นที่สุด
5.4 กฎของการท าให้ง่าย ( Simplification Principle )
พยายามลด รวม หรือก าจัด การเคลื่อนที่และ/อุปกรณ์ที่ไม่จ าเป็น เช่น การรวมเครื่องจักรเข้าด้วยกัน ลดการ
เคลื่อนที่ระหว่างเครื่องจักรได้ ข้อแนะน า ดังนี้
1. น าหลักการของหลักเศรษฐศาสตร์การเคลื่อนไหวมาประยุกต์ใช้งาน
2. ลดหรือก าจัดการเคลื่อนที่ระยะไกล
3. วางแผนการขนถ่ายแบบเส้นตรง และลดการขนถ่ายที่ไม่จ าเป็น
4. พยายามให้การเคลื่อนที่ในกระบวนการน้อยที่สุด และเดินน้อยที่สุด
5. หลีกเลี่ยงการใช้อุปกรณ์หลายๆชนิด หรือวิธีการหลายๆรูปแบบ และเกินความจ าเป็น
5.5. กฎของแรงโน้มถ่วง ( Gravity principle)
ควรใช้ประโยชน์จากแรงโน้มถ่วงในการเคลื่อนย้ายวัสดุหากสามารถกระท าได้ ข้อแนะน าของการใช้แรงโน้มถ่วง
1. ควรใช้ล้อล าเลียง ( Wheel conveyor) หรือลูกกลิ้งล าเลียง ( roller conveyor) รางลื่น (Chute) หรืออื่นๆระหว่าง
หน่วยท างาน
2. ควรใช้ทางลาด หรือ พื้นลาด พื้นเอียงในการขนถ่ายระหว่างพื้นต่างระดับ
3. ควรใช้เครื่องล าเลียงแบบรางลื่น เชื่อมต่อระหว่างเครื่องล าเลียงต่างๆ กรณีที่ต่างระดับ
เอกสารประกอบการเร ียน วิชา การขนถ่ายว ัสด ุ 3100 – 01XX 8
5.6. กฎของการใช้เนื้อที่ให้เกิดประโยชน์ ( Space Utilization principle)
ควรใช้เนื้อที่ในอาคารโรงงานให้เกิดประโยชน์สูงสุด มีข้อแนะน า ดังนี้
1. ควรจัดอุปกรณ์และหน่วยท างานหรือขั้นตอนการท างานต่างๆให้อยู่ใกล้ชิดกัน แต่เว้นช่องว่างส าหรับการขน
ถ่ายด้วย
2. จัดวัสดุวางเป็นชั้นเพื่อประโยชน์ในการจัดเก็บปริมาณมาก
3. วิเคราะห์เนื้อที่ให้ได้ประโยชน์สูงสุด
4. ควรเอาวัสดุหรือใช้น้อยครั้ง หรอนานๆครั้ง เก็บไว้ในพื้นที่ที่ไม่เป็นประโยชน์ เช่น อาคารเก่า หรือภายนอก
โรงงาน
5. ควรค านวณปริมาณการสั่งซื่อที่ประหยัด ( EOQ)
6. ควรใช้อุปกรณ์ยกของที่เอียงซ้าย –ขวา ขึ้น – ลง ในมุมต่างๆได้ โดยไม่จ าเป็นต้องเคลื่อนตัวรถหรือหัว
เลี้ยว
7. พื้นที่รองรับ จะต้องแข็งแรง รับน้ าหนักที่ซ้อนกันได้
5.7. กฎของขนาดหน่วยวัสดุ ( Unit size principle)
การขนถ่ายด้วยปริมาณมากๆ ค่าใช้จ่ายในการขนถ่ายต่อชิ้นถูกลง ท าอย่างไรจึงจะสามารถขนส่งน้อยเที่ยว
แต่ละเที่ยวละมากๆ ไม่ควรขนที่ละชิ้น
1. ตรวจสอบการเคลื่อนของวัสดุแต่ละชิ้น เพื่อหาความเป็นไปได้ในการรวมหน่วยวัสดุ
2. ใช้คอนเทนเนอร์ส าหรับภาชนะบรรจุวัสดุต่างๆ
3. และใช้คอนเทนเนอร์ขนาดมาตรฐาน เท่าๆกัน
4. ออกแบบ หรือก าหนดน้ าหนักบรรทุก ให้เหมาะสมกับอุปกรณ์การขนถ่าย
5.8. กฎของความปลอดภัย ( Safety principle)
ควรจัดให้มีความปลอดภัยทั้งในวิธีการขนถ่ายและอุปกรณ์การขนถ่าย เพราะถ้าเกิดอุบัติเหตุแล้ว อาจ
ก่อให้เกิดความสูญเสียหายได้ ทั้งคนงาน ทรัพย์สิน เวลา ขวัญ และก าลังใจ
สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ มีดังนี้
1. สภาพที่ท างานและสิ่งแวดล้อมไม่ปลอดภัย
2. การกระท าของบุคคลไม่ปลอดภัย
3. เนื่องจากบุคคล
ข้อเสนอแนะของความปลอดภัย
- ควรติดตั้งเครื่องป้องกันและอุปกรณ์ความปลอดภัยในอุปกรณ์การขนถ่ายวัสดุให้เพียงพอ
- บ ารุงรักษาอุปกรณ์การขนถ่ายวัสดุให้พร้อมเสมอ
- ควรใช้อุปกรณ์ช่วยในการขนถ่ายในงานลักษณะที่ยุ่งยาก งานหนัก และอันตราย
- ไม่ควรใช้อุปกรณ์การขนถ่ายวัสดุเกินขีดความสามารถของอุปกรณ์
- ควรจัดเส้นทางการขนถ่ายที่สะดวก และจัดวางวัสดุอย่างระมัดระวัง
5.9. กฎของการเลือกอุปกรณ์
1. ควรเลือกอุปกรณ์ที่สามารถท างานได้หลายอย่าง สามารถปรับเปลี่ยนได้ตามสภาพของงาน
2. ควรใช้อุปกรณ์ที่มีมาตรฐาน ยี่ห้อ รุ่น เดียวกัน เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาการซ่อมบ ารุง อะไหล่ ใช้ทดแทนกันได้
3. ไม่ควรมองข้ามวิธีการในปัจจุบันที่ดีอยู่แล้ว ก่อนที่จะเปลี่ยนวิธีใหม่และจ าเป็นต้องใช้อุปกรณ์นั้นๆ
เอกสารประกอบการเร ียน วิชา การขนถ่ายว ัสด ุ 3100 – 01XX 9
4. องค์ประกอบทั้งทางตรงและทางอ้อม ที่คิดว่าคุ้มกับการลงทุนชื้ออุปกรณ์ประเภทนั้นๆ หรือไม่
6. วิธีการขนถ่ายวัสดุ
วิธีการขนถ่ายวัสดุ หมายถึง วิธีการใช้ในการเคลื่อนย้ายวัสดุ หรือผลิตภัณฑ์ จากจุดต้นทาง สู่จุดปลายทาง
ประกอบด้วย องค์ประกอบ ส าคัญ 3 ประการ คือ
1. ระบบ ( Systems)
a. ระบบทางตรง เหมาะส าหับวัสดุที่มีความเข้มข้นการไหลสูง และระยะสั้น ส าหรับวัสดุชนิด
พิเศษและต้องการความเร่งด่วน และเป็นวิธีประหยัดที่สุด
b. ระบบทางอ้อม เหมาะส าหรับผังโรงงานที่มีรูปแบบ หลากหลายและมีทางแยกมากๆ
เหมาะส าหรับวัสดุที่มีความเข้มข้นการไหลต่ าและระยะทางยาวพอประมาณ
2. อุปกรณ์ ( Equipment) จัดประเภทตาม SHA “ Systematic Handling Analysis” การวิเคราะห์การ
ขนถ่าย อย่างเป็นระบบ แบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ
a. อุปกรณ์การขนถ่ายแบบธรรมดา ราคาไม่แพง แต่ค่าด าเนินการสูง เหมาะส าหรับการ
ขนถ่ายขึ้น-ลงได้ง่าย และรวดเร็ว แต่ไม่เหมาะกับการขนถ่ายระยะไกลๆ เหมาะส าหรับ
ระยะทางใกล้ และความเข้มข้นของการไหลต่ า
b. อุปกรณ์การขนถ่ายแบบซับซ้อน ราคาแพง แต่ค่าด าเนินการต่ า เหมาะส าหรับขนถ่าย
ขึ้น – ลงและความเข้มข้นการไหลสูง แต่ไม่เหมาะระยะทางไกลๆ
c. อุปกรณ์การขนส่งแบบธรรมดา ราคาไม่แพง แต่ค่าด าเนินการสูง เหมาะส าหรับการ
ขนส่งระยะไกล แต่ไม่เหมาะการเอาของขึ้น – ลง ความเข้มข้นการไหลต่ า
d. อุปกรณ์การขนส่งแบบซับซ้อน ราคาแพง แต่ค่าด าเนินการต่ า เหมาะส าหรับการขนส่ง
ระยะไกลๆ และความเข้มข้นการไหลสูง
3. หน่วยรองรับ ( Transport units) สภาพของวัสดุที่จะเคลื่อนย้าย มีลักษณะเป็นอย่างไร เช่น วัสดุที่
จะขนถ่ายต้องบรรจุหีบห่อหรือไม่ มีอะไรรองรับหรือไม่ บรรจุใส่ในภาชนะใดหรือไม่ ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ ดังนี้
a. วัสดุเป็นกอง เช่น เป็น ทราย ข้าวเปลือก ข้าวโพด
b. วัสดุรายชิ้นอิสระ วัสดุมีขนาดใหญ่ รูปร่างแปลก อาจเกิดความเสียหายง่ายต่อการหยิบหรือ
รองรับ
c. คอนเทนเนอร์ต่างๆ เหมาะส าหรับวัสดุมารวมกัน เป็นลัง เป็นกล่อง แล้วขนถ่ายมารวมกันใน
คอนเทนเนอร์
7. การเลือกเครื่องมือการขนถ่ายวัสดุ
การเลือกเครื่องมือขนถ่ายวัสดุที่ดีและเหมาะสม จะช่วยให้กระบวนการผลิตมีประสิทธิภาพ ลดต้นทุนการผลิต
ยิ่งถ้าการค้ามีการแข่งขันสูง ผู้ประกอบการต้องค านึงถึงต้นทุน เพราะต้นทุนจากอุปกรณ์การขนถ่ายวัสดุมีมากถึง 30 %
ของต้นทุนการผลิตทั้งหมด
มีโรงงานที่มีคุณภาพหลายโรงงาน ใช้จ าลองสถานการณ์การผลิตผ่านคอมพิวเตอร์ ( CIM : Computer Integrated
Manufacturing) ก าหนดเป็นขบวนการผลิตแบบอัตโนมัติ และการออกแบบวิธีการขนถ่ายวัสดุ เพื่อค านวณค่าใช้จ่ายใน
ระยะยาวของโรงงาน และยังสามารถปรับเปลี่ยนต าแหน่งเครื่องจักรได้ โดยเสียค่าใช้จ่ายน้อย
เครื่องมือชนถ่ายวัสดุควรจะอยู่ใกล้กันมากที่สุดและเป็นเครื่องมืออย่างง่ายที่สุด
ตารางชนิดเครื่องมือล าเลียงวัสดุ 7 ชนิด
เอกสารประกอบการเร ียน วิชา การขนถ่ายว ัสด ุ 3100 – 01XX 10
8. ตัวแปรส าคัญในการวิเคราะห์ระบบล าเลียงวัสดุ
เอกสารประกอบการเร ียน วิชา การขนถ่ายว ัสด ุ 3100 – 01XX 11
9. การก าหนดเส้นทางล าเลียง
เอกสารประกอบการเร ียน วิชา การขนถ่ายว ัสด ุ 3100 – 01XX 12
เอกสารประกอบการเร ียน วิชา การขนถ่ายว ัสด ุ 3100 – 01XX 13
10. การแบ่งชนิดของเครื่องมือและอุปกรณ์ล าเลียงวัสดุ
เอกสารประกอบการเร ียน วิชา การขนถ่ายว ัสด ุ 3100 – 01XX 14
1.8 เส้นทางขนส่งที่แน่นอน
เอกสารประกอบการเร ียน วิชา การขนถ่ายว ัสด ุ 3100 – 01XX 15
เอกสารประกอบการเร ียน วิชา การขนถ่ายว ัสด ุ 3100 – 01XX 16
เอกสารประกอบการเร ียน วิชา การขนถ่ายว ัสด ุ 3100 – 01XX 17
เอกสารประกอบการเร ียน วิชา การขนถ่ายว ัสด ุ 3100 – 01XX 18
11.เครื่องมือล าเลียงอเนกประสงค์
เอกสารประกอบการเร ียน วิชา การขนถ่ายว ัสด ุ 3100 – 01XX 19
เอกสารประกอบการเร ียน วิชา การขนถ่ายว ัสด ุ 3100 – 01XX 20
12.แผ่นรองวาง ( Pallets)
แผ่นรองวางอาจ แบ่งเป็น 3 ชนิด ตามการใช้งาน คือ แบบใช้งานแล้วทิ้ง แบบใช้งานทั่วไป และแบบแผ่นรอง
เฉพาะงาน ซึ่งขึ้นอยู่กับ ราคาต้นทุนการผลิต ขนาดของแผ่นรองวางมาตรฐาน JIS จะก าหนดความกว้างและความยาว
ในหน่วยมิลลิเมตร ดังแสดงในตารางที่ 1.7
เอกสารประกอบการเร ียน วิชา การขนถ่ายว ัสด ุ 3100 – 01XX 21
13.รถเข็นยก ระบบไฮดรอลิก
กลไกของรถเข็นยก ระบบไฮดรอลิก
กลไกรถเข็นยกจะมีข้อดี เพราะการท างานอาศัยหลักหลักพื้นฐานของคานสมดุล และใช้แรงน้อยในการยก
วัสดุ กลไกจะมี 2 ระบบ คือ ใช้เท้า และใช้คันโยก เพื่อปั๊มน้ ามันไฮดรอลิก
ข้อดีคือ ระบบกลไกไม่ซับซ้อน ง่ายต่อการล าเลียง ส่วนด้ามสามารถปรับความสมดุลได้ น้ าหนักบรรทุกอยู่
ในช่วง 450 – 9000 กิโลกรัม
เอกสารประกอบการเร ียน วิชา การขนถ่ายว ัสด ุ 3100 – 01XX 22
14. ระบบการเคลื่อนย้ายวัสดุ (Material Handling)
เมื่อทราบถึงลักษณะขอบเขตการขนย้ายวัสดุสินค้าแล้ว โรงงานอุตสาหกรรมเองก็ต้องหาวิธีการ และการ
เลือกใช้ระบบการเคลื่อนย้าย ซึ่งปัจจุบันมีเครื่องมือการขนย้ายอยู่หลายอย่าง ที่สามารถจัดหาและน ามาพัฒนาสร้าง
เป็นระบบของโรงงานอุตสาหกรรมได้ ปัจจุบันการเคลื่อนย้ายวัสดุ สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ซึ่งมีเครื่องมือที่
ใช้ในแต่ละประเภท ดังต่อไปนี้
14.1. การเคลื่อนย้ายโดยเครื่องจักร
เป็นระบบการเคลื่อนย้ายวัสดุที่ ได้มีการน าเอาเครื่องมือในการขนย้ายหลายชนิดเข้ามาช่วย ซึ่งเป็น
เครื่องมือเครื่องจักรแบบธรรมดาที่ไม่ได้มีกลไกซับซ้อนมากนัก เครื่องมือขนย้ายที่มีการใช้กันมากในการปฏิบัติงาน
เกี่ยวกับการเคลื่อนย้ายวัสดุ ได้แก่
- รถยก (Forklift Truck) เป็นเครื่องมือที่สามารถยกของและย้ายของ น าไปกองได้ทั้งในแนวนอน และ
แนวดิ่ง รถยกนี้มีหลายแบบและหลายขนาด แต่โดยทั่วไปจะมี 4 ล้อ ขับเคลื่อนด้วยล้อหน้า บังคับเลี้ยวด้วยล้อ
หลัง ยกของด้วยส้อมที่ติดอยู่ด้านหน้า และยกของขึ้นด้วยระบบไฮดรอลิก แหล่งพลังงานมาจากแก็สปิโตรเลี่ยมเหลว(
PLG) น้ ามันดีเซล และมอเตอร์ไฟฟ้า สามรถยกน้ าหนักไม่เกิน 4.5 ตัน ความกว้างช่องทางวิ่ง อยู่ในช่วง 3.6 – 4.6
เมตร สามารถยกของได้สูงประมาณ 20 ฟุต ( 6 เมตร ) รถยกนี้เหมาะส าหรับการเคลื่อนย้ายวัสดุระยะทางใกล้ ๆ
เช่น ภายในโรงงาน และต้องใช้แรงงานคนประกอบในการจัดเก็บของที่ขนย้ายด้วย ดังนั้นจึงไม่นิยมใช้ส าหรับการ
เคลื่อนย้ายที่มีระยะทางไกล และไม่ใช้กับการเคลื่อนย้ายวัสดุที่มิใช่เป็นสิ่งของที่มีรูปทรงมาตรฐาน หรือวัสดุที่ไม่มีการ
บรรจุภัณฑ์เพื่อการเคลื่อนย้าย
- รถลากจูงประกอบรถพ่วง (Tractor-trailer) เป็นเครื่องมือที่ประกอบด้วย รถพ่วง 4 ล้อ ที่มีลักษณะคล้าย
รถเข็น หรือเกวียนหลาย ๆ คันเชื่อมต่อกันที่จุดต่อ เคลื่อนที่โดยการใช้แรงคนเพียงคนเดียวหรือรถลากจูงเพียง 1 คัน ก็
สามารถลากจูงรถพ่วงได้หลายคัน รถลากจูงประกอบนี้ ใช้ส าหรับการเคลื่อนย้ายวัสดุที่เป็นไปอย่างต่อเนื่องและ
สามารถขนวัสดุได้ทีละหลายชนิด
รถลากจูง มักใช้พลังงานไฟฟ้า หรือใช้พลังงานจากเครื่องยนต์ โดยควบคุมการเคลื่อนที่ด้วยมือ แบบนั่ง และ
แบบยืน ซึ่งการล าเลียงโดยใช้แรงคน อาจท าไม่ได้ จึงต้องอาศัยแรงจากรถลากจูง
เอกสารประกอบการเร ียน วิชา การขนถ่ายว ัสด ุ 3100 – 01XX 23
- ปั้นจั่น (Crane) เป็นเครื่องจักรที่มีก าลังในตัวเอง ใช้ท าการยกสิ่งของได้ในพื้นที่จ ากัด ซึ่งเครื่องมือหรือ
เครื่องจักรประเภทอื่นเข้าไม่ถึง ปั้นจั่นมี 2 ชนิดคือ ปั้นจั่นชนิดคานยกหมุนไม่ได้ และชนิดคานยกหมุนได้ ปั้นจั่น
ชนิดคานยกหมุนไม่ได้ โดยปกติจะติดตั้งอยู่บนรถแทรกเตอร์ โดยมีคานยกยื่นออกมาเหนือล้อหน้า คานยกสามารถ
หันเหได้โดยการหมุนตัวของรถแทรกเตอร์ ส่วนปั้นจั่นชนิดคานยกหมุนได้ จะติดตั้งอยู่บนรถ เรียกว่า รถปั้นจั่น ซึ่ง
คานยกที่ติดตั้งอยู่สามารถหมุนได้โดยที่ตัวรถไม่ได้หมุน
-รางเลื่อน (Conveyor) เป็นเครื่องมือที่นิยมใช้กันมากในการขนย้ายวัสดุ รางเลื่อนนี้ไม่จ าเป็นต้องเกี่ยวข้อง
กับยานพาหนะใด รางเลื่อนมีหลายชนิด ทั้งที่มีก าลังขับเคลื่อนและชนิดที่ไม่มีก าลังขับเคลื่อน รางเลื่อนชนิดที่มี
ก าลังขับเคลื่อน ได้แก่ รางเลื่อนชนิดสายพาน (Belt Conveyor) ซึ่งมีลักษณะเป็นสายพานวงรอบ ไม่มีปลายสุด
ติดตั้งอยู่บนโครงเหล็ก ขับเคลื่อนด้วยแรงฉุดของเครื่องยนต์หรือไฟฟ้า รางเลื่อนชนิดที่ไม่มีก าลังขับเคลื่อน ได้แก่ ราง
เลื่อนที่หมุนโดยแรงงานคน หรือรางเลื่อนที่อาศัยแรงถ่วงของโลก เช่น รางเลื่อนชนิดใช้ล้อกลิ้ง (Wheel Conveyor)
และรางเลื่อนชนิดลูกกลิ้ง (Roller Conveyor)
รางเลื่อนชนิดสายพาน (Belt Conveyor)รางเลื่อนชนิดลูกกลิ้ง (Roller Conveyor)
ทั้งนี้ จากตัวอย่างเครื่องมือข้างต้น ปัจจุบันได้มีผู้ผลิตเครื่องมือหลายชนิดเข้ามาใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม
ท าให้เราสามารถพบเห็นเครื่องมือต่าง ๆ มากมาย เข้ามาใช้ในกิจการ โดยการน าเครื่องจักรมากกว่าหนึ่งชนิด เข้ามา
ใช้ประกอบกันในการเคลื่อนย้าย เช่น Chain Conveyor/Chute Conveyor/Taper Roller Conveyor/Caster Ball
Conveyor การใช้รถยกส าหรับยกของในแนวดิ่ง แล้วใช้รถลากจูงประกอบรถพ่วง ในการเคลื่อนย้ายและขนส่งวัสดุใน
แนวนอน เป็นต้น
การประยุกต์ใช้งานระบบลูกกลิ้งล าเลียง
ส่วนมากจะใช้กับการขนส่งสินค้าขนาดเล็กที่มีน้ าหนักเบาในระยะทางสั้นๆ ตัวอย่างเช่น การล าเลียงกล่อง
ชิ้นส่วนเครื่องจักร หรือ เครื่องมือขนาดเล็ก หนังสือ ถาดอะลูมิเนียม หรือ ในลายประกอบ ล าเลียงชิ้นส่วนระหว่าง
เครื่องจักร ล าเลียงวัสดุระหว่างบรรจุภัณฑ์ และสายการล าเลียงอัตโนมัติ เป็นต้น
เอกสารประกอบการเร ียน วิชา การขนถ่ายว ัสด ุ 3100 – 01XX 24
การเลือกใช้ ต้องค านึงถึงปัจจัย ต่างๆ เช่น ให้เหมาะสมกับการประกอบเข้ากับเครื่อง หรืออาจจะใช้ต้นก าลัง
เดียวกันกับตัวเครื่องจักร สามารถติดตั้งง่ายกับงานนอกสถานที่ สามารถติดตั้งอุปกรณ์เสริม เช่น เครื่องมือวัด ได้สะดวก
ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง ค่าใช้จ่ายในการบ ารุงรักษาต่ า คุ้มค่าต่อการลงทุน เป็นต้น
14.2. การเคลื่อนย้ายอัตโนมัติ เป็นความพยายามที่จะใช้ความเป็นอัตโนมัติ ทดแทนการลงทุนใน
แรงงานคนที่มีอยู่ค่อนข้างมาก ในระบบการเคลื่อนย้ายโดยใช้เครื่องจักร ระบบการเคลื่อนย้ายอัตโนมัตินี้ ได้น าเอา
เครื่องมือเครื่องจักรมาประกอบกัน จนเป็นระบบการท างาน ที่มีความซับซ้อน โดยอาศัยคอมพิวเตอร์ จัด
โปรแกรมควบคุมการท างานของชุดเครื่องจักร การใช้ระบบเคลื่อนย้ายอัตโนมัติจะท าให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่าง
รวดเร็วและประหยัด
เวลา
ในปัจจุบันนี้ เครื่องจักรในระบบเคลื่อนย้ายอัตโนมัติที่ใช้กันอยู่มี 2 ชนิด คือ ชนิดแรกเป็นระบบเคลื่อนย้าย
วัสดุตามสายพาน ตั้งแต่เป็นวัสดุน าเข้า ผ่านกระบวนการต่าง ๆ จนเป็นวัสดุน าออก เช่น ระบบเคลื่อนย้ายที่ใช้ใน
การบรรจุน้ า อัดลม ตั้งแต่เริ่มน าขวดเปล่าเข้ามา จนกระทั่งบรรจุใส่ลังพร้อมจะส่งไปจ าหน่าย เป็นต้น ส่วนชนิดที่
สองเป็นระบบเคลื่อนย้ายอัตโนมัติ ที่จัดท าขึ้นส าหรับใช้เคลื่อนย้ายวัสดุขึ้นเก็บในที่สูง โดยเครื่องจักรจะท างาน
อัตโนมัติในการเก็บของและน าของออกจากที่เก็บ
อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันมีอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการขนย้ายเป็นจ านวนมาก โรงงานอุตสาหกรรมคงต้องหาวิธี
และจัดการระบบการขนย้าย รวมทั้งการพิจารณาเลือกใช้อุปกรณ์ที่ช่วยในการขนย้ายวัสดุ เข้ามาใช้ในองค์กร โดยไม่
เลือกใช้อุปกรณ์ที่มีศักยภาพต่ ากับปริมาณวัสดุ หรือสินค้าที่ต้องการขนส่ง ท าให้ไม่เกิดประสิทธิภาพในการขนย้าย
หรือการเลือกอุปกรณ์ขนส่งที่ไม่เหมาะสมกับปริมาณงาน ท าให้สูญเสียต้นทุน เพราะการพิจารณาใช้อุปกรณ์ช่วยใน
การขนถ่ายวัสดุ ถือเป็นการลงทุนในอุปกรณ์การขนถ่ายวัสดุ นั้นไม่ได้ช่วยเพิ่มค่า (Add Value) แก่สินค้าที่ผลิต แต่
อย่างใด เพียงแต่การเลือกใช้อุปกรณ์การขนถ่ายวัสดุที่เหมาะสม จะช่วยให้เกิดประโยชน์มากมาย เช่น เพิ่มความ
คล่องตัว และท าให้เกิดความต่อเนื่องในการผลิต ช่วยลดความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นต่อวัสดุในระหว่างขนถ่าย
ซึ่งทั้งนี้ จะมีผลกระทบไปสู่คุณภาพของผลิตภัณฑ์ และน าไปสู่การลดต้นทุนในการผลิตและผลก าไรโดยรวม จาก
แนวทางข้างต้น ในระบบการเคลื่อนย้ายวัสดุ (Material Handling) ทั้งการเคลื่อนย้ายโดยเครื่องจักร และการ
เคลื่อนย้ายโดยอัตโนมัติ
เอกสารประกอบการเร ียน วิชา การขนถ่ายว ัสด ุ 3100 – 01XX 25
14. 3. การล าเลียงด้วยลมหรือนิวเมติกคอนเวเยอร์
การล าเลียงขนถ่ายวัสดุชนิด Bulk Material ประเภท ผง เกล็ด และ เมล็ด ด้วยแรงลม หรือ นิวเมติกคอนเว
เยอร์นั้น (Pneumatic Conveyor) เป็นวิธีการล าเลียงขนถ่ายวัสดุอีกประเภทหนึ่ง ที่มีลักษณะของการล าเลียงภายใน
ท่อ ให้สามารถเคลื่อนที่ไปได้ในระยะทางไกล ๆ ซึ่งเป็นการล าเลียงแบบระบบปิด การที่วัสดุจะสามารถเคลื่อนที่ไป
ในท่อได้นั้น ต้องอาศัยความเร็วของลม ที่เหมาะสมท าให้วัสดุชนิด ผง เกล็ด และเมล็ด เกิดการลอยตัว
และสามารถเคลื่อนที่ในท่อล าเลียง ไปยังปลายทางตามอัตราเร็วที่ก าหนด
หลายปีที่ผ่านมาการล าเลียงด้วยลม ได้ถูกน ามาใช้ในอุตสาหกรรมการผลิตหลายประเภท เช่น แป้ง
น้ าตาล ตลอดจนถึงเม็ดพลาสติก ซึ่งการล าเลียงด้วยลมนี้ สามารถท างานร่วมกับอุปกรณ์อื่น ๆ ได้อย่างสอดคล้อง
กัน เช่น ไซโคลน ถุงกรองอากาศ ตลอดจน เครื่องกรองฝุ่น แบบไฟฟ้าสถิตย์ เป็นต้น ซึ่งการล าเลียงด้วยลมให้
ได้ความเร็วตามที่ต้องการนั้น ย่อมขึ้นอยู่กับ ชนิด น้ าหนัก ความหนาแน่น และ องค์ประกอบอื่น ๆ ของวัสดุ ที่
แตกต่างกันไป
ด้วยเหตุนี้เอง การล าเลียงขนถ่ายด้วยแรงลม จึงเป็นการผสมผสานระหว่างทักษะ ความรู้ ความเข้าใจใน
เรื่องของแรงดันภายในท่อที่เหมาะสมกับวัสดุที่ใช้ในการล าเลียง
ระบบนิวเมติคคอนเวเยอร์ สามารถล าเลียงขนถ่ายวัสดุได้ทั้งแนวดิ่ง, แนวระดับ, เอียงท ามุมหรือแนวโค้งได้
นอกจากนี้ยังเหมาะสมส าหรับล าเลียงวัสดุในพื้นที่ที่ค่อนข้างจ ากัด เนื่องจากการล าเลียงจะเป็นการล าเลียงภายในท่อ
จึงท าให้ประหยัดพื้นที่ในการติดตั้ง
ข้อดี ข้อเสีย และข้อจ ากัดของระบบขนถ่ายวัสดุด้วยลม
ข้อดี
1. ให้ความปลอดภัยกับผู้ปฏิบัติงานสูง เมื่อเทียบกับคอนเวเยอร์ชนิดอื่น ๆ เพราะไม่ต้องใช้คนแบกถุง ฯลฯ
หรืออันตรายจากฝุ่น หรือสารมีพิษอื่น ๆ
2. ช่วยท าให้สภาพที่ท างานปลอดภัยยิ่งขึ้น เช่น ลดอันตรายที่เกิดจากไฟไหม้ และการระเบิดได้ เพราะ
วัสดุอยู่ในท่อที่มิดชิด นอกจากนี้ยังลดเสียงดังขณะขนถ่ายวัสดุอีกด้วย
3. ประหยัดราคาในการซื้อวัสดุ เพราะไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการบรรจุ และค่าภาชนะส าหรับบรรจุ เช่น
ถุง, กระสอบ ฯลฯ
4. ประหยัดค่าแรงงานในการขนถ่าย และค่าระวางในการขนถ่าย ในลักษณะเป็นกลุ่มก้อน (Bulk handling)
ถูกกว่าการขนถ่ายโดยบรรจุในกระสอบ หรือถุง ฯลฯ
5. ลดการสูญเสีย เนื่องจากวัสดุตกค้างในภาชนะที่บรรจุ หรือบรรจุรั่ว เช่น กระสอบขาด เป็นต้น
นอกจากนี้ยังท าให้โรงงานสะอาด ซึ่งเป็นการลดค่าใช้จ่ายในการท าความสะอาดโรงงาน เพราะวัสดุที่ขนถ่ายจะถูก
ล าเลียงอยู่ในท่อ โดยไม่สามารถรั่วออกข้างนอก
6. สามารถท าความสะอาดตัวเองได้
เอกสารประกอบการเร ียน วิชา การขนถ่ายว ัสด ุ 3100 – 01XX 26
7. บ ารุงรักษาและควบคุมท าได้ง่าย
8. ปรับตัวได้ง่าย คือ ง่ายในการเพิ่ม, เปลี่ยนหรือดัดแปลงให้เหมาะสมกับขั้นตอนในการท างานหรือ การวาง
ผังโรงงาน เพราะโครงสร้างไม่ยุ่งยากเมื่อต้องการเปลี่ยนทิศทางการขนถ่าย ก็เพียงแต่ใช้ท่องอต่อเข้าไป
9. ลดการเปื้อนของผลิตภัณฑ์ เพราะเป็นการขนถ่ายวัสดุในระบบปิด
ข้อเสีย
1. การลงทุนครั้งแรกสูง
2. ทิศทางการขนถ่ายวัสดุ เฉพาะทางใดทางหนึ่ง (Unidirectional)
3. ระยะทาง จ ากัด คือระบบสูญญากาศได้ระยะทางประมาณ 1500 ฟุต และระบบความดันประมาณ 1 ไมล์
4. ความจุ หรือความสามารถในการท างานจ ากัด
ข้อจ ากัดในการท างาน
ปัจจัยส าคัญที่เป็นข้อจ ากัดในการใช้เครื่องมือชนิดนี้ก็คือวัสดุที่จะขนถ่าย เพราะวัสดุจะต้องอยู่ในสภาพแห้ง
มีลักษณะเป็นเมล็ด เป็นผง ฯลฯ สามารถไหลตัวได้ง่าย และไม่เหมาะส าหรับวัสดุที่แตกหักง่าย และสิ่งส าคัญที่ต้องค านึง
คือ ไม่มีนิวเมติคส์คอนเวเยอร์ชนิดใดที่เหมาะกับการขนถ่ายวัสดุทุกชนิด โดยเหตุนี้จึงจ าเป็นต้องเลือกชนิดของเครื่องมือ
ไปใช้งานให้ถูกต้องกับงาน ความสามารถของระบบที่มีอยู่จริงคือ ในระดับที่ 1-400 สิ่งของที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งมี
ขนาดเล็กกว่า 20 มม. เมื่อออกแบบการขนถ่ายวัสดุด้วยมือ การขนถ่ายวัสดุด้วยลมมีข้อดีมากกว่าการขนถ่ายวัสดุแบบวิธี
อื่น
14.4. การล าเลียงด้วยแรงเขย่า (Vibratory Conveyors) .
อุปกรณ์ล าเลียงด้วยแรงเขย่า และเครื่องป้อน สามารถพบได้ในอุตสาห กรรมขนถ่ายทุกประเภท วัสดุ
ปริมาณมวลเกือบทั้งหมด, ผลิตภัณฑ์อาหาร, เคมีภัณฑ์, ทรายโรงหล่อ, ถ่านหิน, แร่เหล็ก, กระบวนการหล่อ
และเศษ
สรุปข้อได้เปรียบของการใช้อุปกรณ์ล าเลียงด้วยแรงเขย่า มีดังนี้:
1. สามารถที่จะลอก (Scalping) และร่อน (Screening) หรือคัดเลือก (Picking) ได้
2. สามารถใช้ล าเลียงวัสดุมีคมและร้อนได้
3. ใน 1 เครื่อง สามารถที่จะแบ่งแยกกระแสการไหลและมีจุดปล่อยวัสดุได้หลายจุด
4. สามารถที่จะท าการหล่อเย็น, ท าให้แห้ง หรือขจัดน้ าได้ในขณะที่ท าการขนถ่าย
5. เป็นอุปกรณ์ที่ท าความสะอาดตัวเองได้และได้มาตรฐานด้านสุขอนามัย
6. สามรรถท าโครงปิดล้อมรอบเพื่อป้องกันฝุ่นได้
7. การก่อสร้างง่ายและติดตั้งในห้องเพดานต่ าได้
ข้อเสียเปรียบบางอย่างได้แก่:
เอกสารประกอบการเร ียน วิชา การขนถ่ายว ัสด ุ 3100 – 01XX 27
1. มีความยาวขนถ่ายค่อนข้างสั้น (200 ft, 61 m.)
2. จ ากัดอัตราขนถ่าย (300 TPH ส าหรับความยาว 100 ft.)
3. วัสดุจะสึกกร่อน แตกตัว
14.5. สายพานล าเลียง Conveyors
สายพานล าเลียง เป็นสายพานที่เคลื่อนที่ต่อเนื่องตลอดเวลาใช้งาน โดยปลายทั้งสองข้างของสายพานจะต่อชน
เข้าด้วยกัน ใช้ส าหรับ ขนถ่ายวัสดุทั้งในแนวราบและแนวลาดเอียง(ขึ้น, ลง) รูป 1
แสดงลักษณะการใช้งานของสายพานล าเลียง
การใช้งานและข้อจ ากัด
สายพานล าเลียงจะมีประโยชน์ในการขนถ่าย วัสดุประเภทผง (Pulverized), เมล็ด (Granular), และวัสดุก้อน
(Lumpy) ก็ต่อเมื่อ ปริมาณวัสดุขนถ่าย มีมากพอถึงจุดคุ้มทุน และเส้นทางในการขนถ่ายอยู่ ในแนวระนาบ หรือลาด
เอียง (ขึ้น, ลง)
ข้อจ ากัดของสายพานล าเลียง ได้แก่
- อุณหภูมิ ต้องไม่สูงนักจนท าให้สายพานไหม้
- ความลาดเอียง ต้องไม่ชันเกินไป จนท าให้วัสดุเลื่อนไหลลง
- ระยะทางของจุดศูนย์กลาง (Center's Distance) จะต้องอยู่ภายในช่วงยืดตัวของสายพานที่ใช้
ความกว้างสายพาน
ความกว้างของสายพาน โดยทั่วไปจะมีหน่วยเป็นนิ้ว หรือมิลลิเมตร ความกว้างของสายพานล าเลียง ที่ผลิต
- ในสหรัฐและแคนาดา มีขนาด 14, 16, 18, 20, 24, 30, 36, 42, 54, 60, 72, 84, 96 และ 108 นิ้ว
- ในยุโรป ความกว้างสายพานตามมาตรฐาน (DIN 22107) มีดังนี้ : 400, 500, 650, 800, 1000, 1200,
1400, 1600, 1800,2000, 2200, 2400, 2600, 2800, 3000 มิลลิเมตร
การเลือกใช้ สายพาน ... กว้างแค่ไหนถึงจะเหมาะสม
ในการเลือก สายพาน ล าเลียง ที่มีความเหมาะสม จะต้องมีความกว้างมากพอต่อการขนวัสดุ ในปริมาณที่
ต้องการของผู้ใช้งานได้ โดยวัสดุจะต้องไม่อยู่ชิดขอบของ สายพาน มากเกินไป ดังนั้นขนาดความกว้าง ของ สายพาน
จะต้อง ล าเลียง วัสดุ ได้อย่างไม่แออัด จนเกินไป การเลือกขนาด ความกว้าง ของ สายพาน ล าเลียง ที่เหมาะสม จะ
ขึ้นอยู่กับปัจจัยดังนี้
- ชนิดของวัสดุที่ ล าเลียง + คุณสมบัติของวัสดุ
- ขนาดก้อนโตของวัสดุ (Lump Size )
- ความเร็ว สายพาน (Belt Speed)ที่ใช้งาน (m/min , m/sec)
เอกสารประกอบการเร ียน วิชา การขนถ่ายว ัสด ุ 3100 – 01XX 28
- อัตราการ ขนถ่าย ล าเลียง (cu.ft / hr )
ข้อมูลในตารางที่1จะเป็นการแบ่งกลุ่มวัสดุและความเร็ว สายพาน สูงสุดส าหรับการขนล าเลียง วัสดุชนิดนั้นๆ
และความกว้างที่เหมาะสมกับการใช้งานที่ความเร็วนั้นๆ
ดังนั้นเมื่อเราทราบแล้วว่าจะขนวัสดุประเภทไหนแล้ว ให้ดูจากกลุ่มวัสดุจากตาราง ก็จะสามารถเลือกใช้ความ
กว้าง สายพาน ที่เหมาะสม และความเร็วที่การ ล าเลียง ได้อย่างเหมาะสมอีกด้วย
ตารางที่ 1 ตารางการเลือกความใช้ความเร็ว สายพาน และความกว้าง สายพาน ที่เหมาะสม
วัสดุที่ใช้ ความเร็วของสายพาน
(ft/min)
ความกว้างของ
สายพาน(inch)
เมล็ดพืช , วัสดุที่ไหลได้ดี , ไม่มีการกัดกร่อน
500
700
800
1000
18
24–30
36–44
48 -96
ถ่านหิน , ดินเหนียว , สินแร่ที่มีความอ่อนตัว , ดิน ,
หินบดละเอียด
400
600
800
1000
18
24–36
42–60
72 -96
วัสดุหนัก , มีความแข็งคม , แร่ที่มีเหลี่ยมมุม , หินแตก
, วัสดุมีผิวหยาบ
350
500
600
18
24–36
< 36
ทรายหล่อละเอียด , ทรายที่มีความชื้น , วัสดุที่มีความ
ร้อนต่ าจนไม่ท าให้สายพานเสียหาย 350 Any width
ทรายหล่อละเอียด , มีความชื้นและเกิดการกัดกร่อน
เมื่อแห้ง 200 Any width
วัสดุที่ไม่เกิดการกัดกร่อน , วัสดุที่จ่ายออกมาจาก
สายพานโดยท าให้เกิดความสกปรกต่อใบกวาด
200 Any width
สายพาน Feeder , ส าหรับป้อนวัสดุที่มีความละเอียด
, ไม่ก่อให้เกิดการกัดกร่อน หรือ กัดกร่อนน้อย
50 -100 Any width
หมายเหตุ : **ส าหรับการใช้งานในประเทศไทยให้ใช้ ความเร็ว สายพาน x 0.8จะได้ความเร็วสูงสุดที่ใช้งาน
ได้จริง
14.6. สกูรขนถ่าย
รูป ตัวอย่าง โครงร่างของสกรูขนถ่าย
เอกสารประกอบการเร ียน วิชา การขนถ่ายว ัสด ุ 3100 – 01XX 29
สกรูล าเลียง เป็นอุปกรณ์เชิงกล ที่ถูกสร้างขึ้นส าหรับขนถ่ายวัสดุต่าง ๆ ส่วนมากจะนิยมใช้ในการขนถ่าย
วัสดุปริมาณมวล (Bulk Materials) สกรูล าเลียง จะมีชิ้นส่วนประกอบหลักที่ส าคัญอยู่หลายส่วนด้วยกัน
ประกอบด้วย ใบสกรู ตัวแขวน ราง และชุดขับ การออกแบบสร้างสกรูล าเลียงจ าเป็นต้องศึกษารูปร่างลักษณะของ
ส่วนประกอบและหลักการน าไปใช้งาน
ทั้งนี้ขึ้นอยู่ว่า ผู้ออกแบบจะน าสกรูไปใช้เพื่อการล าเลียงวัสดุประเภทใด ซึ่งคุณสมบัติของวัสดุปริมาณมวล
ชนิดต่าง ๆ นั้น ได้ถูกจ าแนกประเภทเอาไว้ตามมาตรฐานของ CEMA (Conveyor Equipment Manufacturers
Association) ทั้งนี้ก็เพื่อจะได้ออกแบบสร้างสกรูล าเลียงได้อย่างมีประสิทธิภาพ เหมาะกับการน าไปใช้งานในรูแบบ
ต่าง ๆ ซึ่งเนื้อหานี้จะได้กล่าวถึงชิ้นส่วนที่ส าคัญที่มีความส าคัญเป็นอย่างมากต่อการล าเลียงวัสดุนั่นคือ “ใบสกรู
ล าเลียง”
ใบสกรู (Screw Flights)
ใบสกรูนั้นถือว่าเป็นชิ้นส่วนประกอบหลักที่ส าคัญที่สุดของชุดสกรูล าเลียง ลักษณะของใบสกรูจะเป็นตัวบอกว่าจะ
น าไปใช้งานประเภทใด หรือเหมาะกับการขนวัสดุชนิดใด การพิจารณาออกแบบเลือกใบสกรูเพื่อน าไปใช้งานอย่าง
เหมาะสมนั้น จะต้องศึกษาชนิดลักษณะรูปร่างของใบสกรูและส่วนประกอบต่าง ๆ ซึ่งใบสกรู สามารถแบ่งตามลักษณะ
รูปร่างแบบต่าง ๆ ได้ดังนี้
1 ใบสกรูแบบใบเต็มระยะพิตมาตรฐาน (Single Flight Standard Pitch) เป็นใบสกรูใบเต็มที่มี ระยะพิต
เท่ากับขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางนอกสุดของสันใบ ใช้ขนถ่ายวัสดุทั่วไปเหมาะกับการขนถ่ายวัสดุในแนวนอน
รูปที่ 1ใบสกรูแบบใบเต็มระยะพิตมาตรฐาน
2 ใบสกรูแบบใบเต็มระยะพิตเท่ากับครึ่งหนึ่งของเส้นผ่าศูนย์กลางใบ (Single Flight Haft Pitch) เป็นใบสก
รูที่มีระยะพิตเท่ากับครึ่งหนึ่งของขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางนอกสุดของสันใบ ใช้กับงานขนถ่ายวัสดุ แนวเอียง แนวดิ่ง เหมาะ
กับวัสดุที่ไหลตัวได้ดี
รูปที่ 2ใบสกรูแบบใบเต็มระยะพิตครึ่งหนึ่งของเส้นผ่าศูนย์กลางใบ
3 ใบสกรูแบบใบเต็มระยะพิตสั้น (Single Flight Short Pitch) เป็นใบสกรูที่มีระยะพิตเท่ากับ 2/3 ของ
เส้นผ่าศูนย์กลางใบสกรู สามารถใช้ในการขนถ่ายวัสดุแนวเอียงที่ท ามุมมากกว่า 20 องศา หรือแนวดิ่ง และยังใช้สามารถ
ลดการพุ่งของวัสดุเพื่อใช้ในการจ่ายวัสดุด้วย
รูปที่ 3ใบสกรูแบบใบเต็มระยะพิตสั้น
เอกสารประกอบการเร ียน วิชา การขนถ่ายว ัสด ุ 3100 – 01XX 30
4 ใบสกรูแบบใบเต็มระยะพิตยาว (Long Pitch Conveyor Screws) เป็นใบสกรูที่มีระยะพิตเท่ากับ 11/2 ใช้
เป็นเครื่องตีกวนของเหลว หรือขนถ่ายวัสดุด้วยความเร็วส าหรับวัสดุที่ไหลได้ดี
รูปที่ 4ใบสกรูแบบใบเต็มระยะพิตยาว
5 ใบสกรูแบบใบเต็มระยะพิตขยาย (Single Flight Variable Pitch) เป็นใบสกรูที่ระยะพิตของใบจะ ค่อย ๆ
ขยายเพิ่มขึ้น ใช้ในสกรูจ่ายหรือป้อนวัสดุ เหมาะกับวัสดุที่ละเอียดไหลตัวง่าย การไหลของวัสดุต่อเนื่อง สม่ าเสมอตลอด
ความยาวของสกรู
รูปที่ 5ใบสกรูแบบใบเต็มระยะพิตขยาย
6 ใบสกรูแบบที่ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพิ่มขึ้นเป็ นระดับขั้น (Stepped Pitch Conveyor Screw) ใบสกรูแบบ
นี้จะประกอบไปด้วยใบสกรูที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางที่ต่างกัน แต่มีระยะพิตเท่ากันมาเชื่อมติดตั้ง เรียงกันบนแกนเพลา
เดียวกันเป็นช่วง ๆ ส่วนมากจะใช้ในงานสกรูจ่ายวัสดุส่วนที่ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางน้อยจะติดตั้งไว้ที่ต าแหน่งใต้ Hopper
เพื่อใช้จ่ายวัสดุและควบคุมการไหลของวัสดุ
รูปที่ 6ใบสกรูแบบที่ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพิ่มขึ้นเป็นช่วง ๆ
7 ใบสกรูแบบใบเรียวระยะพิตมาตรฐาน (Single Tapered Flight Standard Pitch) เป็นใบสกรูที่มี ระยะพิต
มาตรฐาน แต่ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางค่อย ๆ ขยายเพิ่มขึ้น ใช้ในงานสกรูจ่ายเหมาะกับการขนวัสดุที่เป็นก้อนหรือร่วนซุย
ออกจากถังเก็บ หรือ Hopper การไหลของวัสดุเป็นไปอย่างสม่ าเสมอ
รูปที่ 7ใบสกรูแบบใบเรียวระยะพิตมาตรฐาน
8 ใบสกรูแบบใบเต็ม 2 ชั้น ระยะพิตมาตรฐาน (Double Flight Standard Pitch) เป็นใบสกรูแบบ มาตรฐาน
สองใบน ามาติดซ้อนกันบนเพลาเดียว ใช้ในการขนถ่ายวัสดุราบเรียบ การปล่อยวัสดุออกเป็นไปอย่างสม่ าเสมอ
รูปที่ 8ใบสกรูแบบใบเต็ม 2 ชั้น ระยะพิตมาตรฐาน
เอกสารประกอบการเร ียน วิชา การขนถ่ายว ัสด ุ 3100 – 01XX 31
9 ใบสกรูแบบระยะพิตสั้นสองชั้น (Double Flight Shot Pitch Conveyor Screws) เป็นใบสกรูแบบที่น าใบสกรู
ระยะพิตสั้น 2 ใบมาติดตั้งซ้อนกันบนเพลาเดียว ระยะพิตจะสั้นมากท าให้แม่นย าในการจ่ายวัสดุ วัสดุที่ไหลออกจากสกรู
จะไม่พุ่งไปไกล เหมาะกับงานป้อนวัสดุเข้าเครื่องผสมที่ต้องการส่วนผสมและการไหลสม่ าเสมอ
รูปที่ 9ใบสกรูแบบระยะพิตสั้นสองชั้น
10 ใบสกรูแบบใบเต็มระยะพิตมาตรฐานติดใบพาย (Standard Pitch with Paddles) ใบสกรูแบบนี้ จะเป็น
แบบใบเต็มระยะพิตมาตรฐานติดใบพายตามเพลาเป็นช่วย ๆ ใบพายจะเป็นตัวกวาดช่วยในการไหลหรือ ผสมวัสดุ
สามารถปรับมุมบิดใบพายได้ จะใช้กับวัสดุน้ าหนักเบา น้ าหนักปานกลาง มีลักษณะละเอียดเป็นเมล็ดหรือเป็นแผ่น
รูปที่ 10ใบสกรูแบบใบเต็มระยะพิตมาตรฐานติดใบพาย
11 ใบสกรูแบบใบตัด (Single Cut Flight) ใบสกรูแบบนี้จะเป็นแบบใบสกรูมาตรฐาน แต่ขอบนอกสุดของสันใบ
สกรูจะมีการตัดบากเป็นช่อง รอยบากจะช่วยในการผสมกันของวัสดุในขณะขนถ่าย
รูปที่ 11ใบสกรูแบบใบตัด
12 ใบสกรูแบบตัดและพับ (Cut and Folded Flight Conveyor Screws) เป็นใบสกรูที่มีรอยตัดและพับ ซึ่งจะ
เป็นส่วนที่ใช้ส าหรับการผสมและกวนวัสดุซึ่งจะท าให้วัสดุลอยตัวขึ้นในอากาศ เป็นผลให้เกิดการผสมกันของวัสดุได้ดีขึ้น
ใบสกรูนี้จะใช้กับวัสดุที่มีน้ าหนักเบา มีขนาดปานกลางหรือวัสดุละเอียด
รูปที่ 12ใบสกรูแบบตัดและพับ
13 ใบสกรูแบบตัดและติดใบพาย (Cut Flight with Paddled) เป็นใบสกรูแบบตัดแล้วมีใบพัดติดอยู่ เป็นช่วง ๆ
ซึ่งเป็นตัวขวางการไหลของวัสดุเพื่อท าให้เกิดการผสมกันของวัสดุมากขึ้นในขณะขนถ่ายวัสดุ
รูปที่ 13ใบสกรูแบบตัดและติดใบพาย
เอกสารประกอบการเร ียน วิชา การขนถ่ายว ัสด ุ 3100 – 01XX 32
14 ใบกรูแบบริบบอน (Ribbon Flights) ใบสกรูแบบนี้จะท าจากเหล็กแบนบิดม้วนเป็นเกลียวแล้วน ามายึดติดกับ
เพลาด้วยเหล็กเส้น ช่องว่างของใบสกรูกับเพลาจะท าให้วัสดุลอดผ่านได้ ท าให้วัสดุผสมกันไปด้วย เหมาะกับงานขนถ่าย
วัสดุเหลวมีความหนืดและเหนียว
รูปที่ 14ใบสกรูแบบริบบอน
15 ใบสกรูแบบริบบอนติดใบพาย (Ribbon Flight With Paddles) ใบสกรูแบบริบบอนติดใบพายนี้ จะน าใบ
พายมาติดระหว่างระยะพิตของใบใบพาย จะติดเป็นแนวเกลียวสวนการเคลื่อนที่ของวัสดุ ใบพายจะใช้วิธีเชื่อมติดกับเพลา
เพื่อลดส่วนยื่นของใบพาย ใบสกรูชนิดนี้เหมาะกับการใช้ในงานผสมวัสดุขณะขนถ่าย ใช้ล าเลียงวัสดุแข็งมีน้ าหนักเบาถึง
ปานกลาง หรือวัสดุละเอียดเป็นเม็ดหรือเกล็ด
รูปที่ 15ใบสกรูแบบริบบอนติดใบพาย
16 ใบสกรูแบบริบบอนหลายใบ (Multiple Ribbon Flight Conveyor Screws) ใบสกรูริบบอนแบบนี้ จะมีใบสก
รูริบบอนที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางขอบนอกใบสกรูที่แตกต่างกันออกไป มายึดติดตั้งอยู่บนแกนเพลา การพาวัสดุของใบสกรูจะ
มีทิศทางตรงกันข้าม ใบหนึ่งจะพาวัสดุไปข้างหน้าอีกใบก็จะพาวัสดุกลับ วัสดุจะ คลุกเคล้ากันได้เป็นอย่างดี
รูปที่ 16ใบสกรูแบบริบบอนหลายใบ
17 ใบสกรูแบบใบพาย (Van Paddle Conveyor) ใบพายจะท าจากเหล็กติดกับก้านที่สอดทะลุเพลา แล้วยึด
ด้วยนัต ใบพายนี้จะสามารถปรับมุมเอียงได้เพื่อควบคุมทิศทางการไหล เหมาะในการใช้กับงานผสม วัสดุใช้ได้ทั้งวัสดุแห้ง
หรือเหลว
รูปที่ 17ใบสกรูแบบใบพาย
18 ใบสกรูล าเลียงแบบใบถ้วย (Cupped Pitch) ใบสกรูแบบนี้จะมีประสิทธิภาพในการผลักดันวัสดุ ให้เคลื่อนตัว
ไปช้า ๆ เพื่อให้การจ่ายวัสดุออกจาก Hopper ไหลตัวได้ง่าย เหมาะกับการจ่ายวัสดุในแนวเอียงท า มุมและแนวดิ่ง
เนื่องจากความสามารถอุ้มวัสดุได้ดีและขนาดของความยาวพิตจะค่อนข้างยาว
เอกสารประกอบการเร ียน วิชา การขนถ่ายว ัสด ุ 3100 – 01XX 33
รูปที่ 18ใบสกรูล าเลียงแบบใบถ้วย
19 สกรูแบบกรวยระยะพิตสม ่าเสมอ (Cone with Consistent Pitch) เพลาของสกรูจะเป็นรูปกรวย ใช้ในงาน
สกรูจ่ายวัสดุตามแนวราบตามความยาวที่ต้องการ เพลารูปกรวยจะให้วัสดุไหลออกจาก Hopper หรือถังเก็บได้ง่ายขึ้น
รูปที่ 19 สกรูแบบกรวยระยะพิตสม่ าเสมอ
20 สกรูแบบกรวยระยะพิตเพิ่มขึ้น (Cone with Varied Pitch) เพลาของสกรูจะเป็นรูปกรวย ใช้ในงานสกรูจ่าย
วัสดุตามแนวราบไปตามความยาวที่ต้องการ เพลารูปกรวยจะให้วัสดุไหลออกจาก Hopper หรือถังเก็บได้ง่ายขึ้น
รูปที่ 20 สกรูแบบกรวยระยะพิตเพิ่มขึ้น
21 ใบสกรูแบบไม่มีเพลา (Shaft Less Flight) เป็นใบสกรูใบเกลียวที่ไม่มีเพลายึดใบเกลียว รับ แรงบิดสูง
ความเร็วในการขนถ่ายต่ า เหมาะส าหรับการลากพาวัสดุหรือขนถ่ายวัสดุที่เกิดการอัดตัวกันง่าย เป็นเส้นใย
รูปที่ 21ใบสกรูแบบไม่มีเพลา
22 ใบสกรูแบบยืดหยุ่นได้ (Flexible Screw Conveyors) ใบสกรูแบบนี้จะท าเหล็กกล้าสปริงหรือ สแตนเลสโดย
ที่ใบสกรูจะอยู่ภายในท่อที่เป็นทั้งท่ออ่อนหรือท่อแข็งทั้งพลาสติกหรือโลหะแข็งและมีชุดมอเตอร์ขับไฟฟ้า ซึ่งปกติจะติดตั้ง
ที่ส่วนปลายของสกรูล าเลียง ใบสกรูแบบนี้จะสามารถโค้งไปตามรางแบบท่อมีทั้ง แบบกลม และแบบแบน
1. ใบสกรูยืดหยุ่นได้แบบกลม ใช้แรงขับเคลื่อนวัสดุออกสู่ภายนอกโดยผ่านไปตามใบเกลียวกับท่อ ใบสกรู
แบบนี้จะลดการเสียดสีกันระหว่างใบกับท่อ ใช้ก าลังขับต่ าวัสดุจะค่อย ๆ กระจายตัว ภายในท่อมีการขวางการไหลในตัว
ช่วยในการผสมวัสดุ ใบสกรูแบบกลมจะมีประสิทธิภาพในการการขนส่ง และผสมวัสดุ อายุการใช้งานที่ยาวนานกว่าแบบ
แบน
รูปที่ 22ใบสกรูยืดหยุ่นได้แบบกลม
2. ใบสกรูยืดหยุ่นได้แบบแบน ผลิตจากเส้นลวดสี่เหลี่ยม มีแรงขับเคลื่อนดีมากมีความจุเพิ่มขึ้นเล็กน้อย
เหมาะกับการขนวัสดุที่เบา วัสดุจะผสมกับอากาศได้ดี ใช้เมื่อต้องการให้วัสดุผสมกับอากาศ ซึ่งช่วยในการเคลื่อนที่ของ
วัสดุไปเมื่อไม่มีการไหลย้อยกลับ เหมาะกับวัสดุจ าพวกแป้ง, ผงดับเพลิง รวมทั้งวัสดุที่ผ่านการกรองทั้งหลาย
เอกสารประกอบการเร ียน วิชา การขนถ่ายว ัสด ุ 3100 – 01XX 34
รูปที่ 23ใบสกรูยืดหยุ่นได้แบบแบน รูปที่ 24ใบสกรูยืดหยุ่นได้แบบมีขอบใบเอียง
3. ใบสกรูยืดหยุ่นได้แบบมีขอบใบเอียงออกแบบให้ขนถ่ายวัสดุที่ไหลยากประเภทที่มีเหล็กเป็น
ส่วนประกอบ วัสดุมีการชุบสีย้อมสี วัสดุจะถูกพาไปตามและใบสกรู ไม่เหมาะที่จะขนถ่ายในงานที่ใช้ที่งอ แต่ก็สามารถขน
ถ่ายวัสดุในแนวเอียงได้
15. การเลือกใช้อุปกรณ์ที่ช่วยในการขนย้ายตามลักษณะงานได้ดังต่อไปนี้
การที่จะตัดสินใจน าเครื่องมือมาใช้ในกิจการต้องมีการพิจารณาอย่างรอบคอบ แนวทางที่ใช้ในการตัดสินใจเลือก
เครื่องมือเครื่องจักรมาใช้ส าหรับการเคลื่อนย้ายวัสดุที่ส าคัญมี 6 ประการคือ
1. เครื่องมือเครื่องจักรที่น ามาใช้ต้องมีมาตรฐานเท่าที่จะเป็นไปได้
2. เครื่องมือเครื่องจักรที่น ามาใช้ต้องช่วยในการเคลื่อนย้ายวัสดุเป็นไปอย่างต่อเนื่องในขณะปฏิบัติงานขนย้าย
3. ควรลงทุนในเครื่องมือเครื่องจักรชนิดที่สามารถเคลื่อนที่ได้มากกว่า ลงทุนในเครื่องมือเครื่องจักรชนิดที่ติด
ตั้งอยู่กับที่
4. ต้องใช้ประโยชน์จากเครื่องมือเครื่องจักรชนิดเคลื่อนที่ได้ให้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้
5. พยายามเลือกเครื่องมือที่จะท าให้สัดส่วนต้นทุนการเคลื่อนย้ายวัสดุต่อน้ าหนัก หรือปริมาณของวัสดุที่
เคลื่อนย้ายมีอัตราต่ าสุด
6. พยายามที่จะใช้ประโยชน์จากแรงถ่วงของโลกในการเคลื่อนย้ายวัสดุ
1. งานเคลื่อนย้ายบ่อย ระยะทางไม่ไกลมากนัก
ในลักษณะงานที่มีการเคลื่อนย้ายบ่อยครั้ง หรือต่อเนื่อง ขณะที่มีการผลิต และมีระยะทางในการขนย้ายที่
ระยะทางไม่ไกลมากนัก การใช้รางเลื่อน (Conveyor) เป็นเครื่องมือที่นิยมใช้กันมากในการขนย้ายวัสดุ และมีความ
เหมาะสมกับลักษณะการเคลื่อนย้ายลักษณะนี้ เพราะลักษณะของอุปกรณ์ง่ายต่อการท างาน เช่น ทั้งสามารถ
ท างานด้วยเครื่องจักรขับเคลื่อน เช่น รางเลื่อนสายพาน หรือรางเลื่อนที่แบบใช้แรงงานคน หรือแรงงานที่ใช้แรงโน้ม
ถ่วง ได้แก่ รางเลื่อนที่ เช่น รางเลื่อนชนิดใช้ล้อกลิ้ง (Wheel Conveyor) และรางเลื่อนชนิดลูกกลิ้ง (Roller
Conveyor) สามารถใช้กับงานที่เคลื่อนย้ายได้บ่อย ๆ และต้องใช้ระยะทางไม่มาก เนื่องจากถ้ามีระยะทางไกลเกินไป
จะเกี่ยวข้องกับต้นทุนของรางเลื่อนที่ต้องเพิ่มมากขึ้นตามระยะทาง การเลือกใช้รางเลื่อนกับพื้นที่ไกลเกินไปอาจไม่
เหมาะสมมากนัก ต้องเลือกใช้อุปกรณ์อื่นที่เหมาะสมเข้ามาใช้แทน
2. งานเคลื่อนย้ายที่สามารถเปลี่ยนแปลงการขนย้ายได้
ในความเป็นจริง การขนย้ายในโรงงานอุตสาหกรรม จะมีลักษณะที่มีการเคลื่อนย้าย หรือเปลี่ยนแปลงบ่อย ๆ
เพื่อความเหมาะสมกับงานและเวลาที่ใช้ การใช้ Industrial Vehicles จะมีความเหมาะสม โดยมีทั้งแบบลากจูง ใช้
แรงดัน หรือขับเคลื่อนด้วยมอเตอร์ เช่น รถเข็น รถลากจูงแบบมีขบวนพ่วง รถยกปากส้อม ฯลฯ อุปกรณ์ประเภท
เอกสารประกอบการเร ียน วิชา การขนถ่ายว ัสด ุ 3100 – 01XX 35
นี้สามารถใช้เคลื่อนย้ายทั้งแบบหนึ่งจุดเริ่มต้น-หนึ่งจุดหมาย (Single Load) ซึ่งการขนย้ายแต่ละครั้ง มีจุดเริ่มต้น
และที่หมายเพียงอย่างละจุดเท่านั้น อุปกรณ์ที่ใช้อาจเป็นรถเข็น หรือรถยกปากส้อม และการเคลื่อนย้ายแบบหลาย
จุดเริ่มต้น-หลายจุดหมาย (Multiple Loads) ซึ่งจะมีหลายจุดเริ่มต้น และหลายจุดหมายในแต่ละครั้งของการขนย้าย
เช่น อาจมีการหยิบของจากหลาย ๆ จุด ไปส่งยังหลาย ๆ ที่ โดยอุปกรณ์ในการขนย้าย ได้แก่ รถลากจูงแบบมีพ่วง
หรือรถเข็น
3. งานที่ต้องการการจัดเก็บและเรียกใช้วัสดุหลากหลายแบบในหิ้งจัดเก็บที่หนาแน่นมาก ๆ
การใช้อุปกรณ์แบบ Automated storage/retrieval systems (AS/RS) จะใช้ในการขนย้ายวัสดุ โดยการน า
วัสดุไปเก็บ (Store) และน าวัสดุออกมา (Retrieve) แบบอัตโนมัติ จากที่จัดเก็บประเภทหิ้งจัดเก็บ (Storage Rack) โดย
มีต าแหน่ง/บริเวณที่เครื่อง AS/RS มารับวัสดุไปจัดเก็บ (Pickup Station) และจุดที่น าวัสดุจากหิ้งจัดเก็บไปส่งเมื่อวัสดุ
นั้นถูกเรียกใช้ (Deposit Station) อุปกรณ์แบบ AS/RS จะมีทั้งแบบใช้ AS/RS เครื่องเดียวต่อการจัดเก็บ 1 ช่องทาง
(Aisle) ใช้ AS/RS เครื่องเดียวต่อการจัดเก็บหลายช่องทาง หรือใช้ AS/RS หลายเครื่องในการจัดเก็บ 1 ช่องทาง ทั้งนี้
ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของพื้นที่ จัดเก็บ ความถี่ในการจัดเก็บและเรียกใช้วัสดุ โดยทั่วไปแล้วปัจจัยที่มีผลต่อ
ความสามารถในการจัดเก็บ และเรียกใช้ของอุปกรณ์แบบ AS/RS จะพิจารณาจากลักษณะโครงสร้างของหิ้งที่ใช้
จัดเก็บ ความเร็วในการเคลื่อนของอุปกรณ์ AS/RS ทั้งในแนวดิ่งและแนวราบ
4. งานที่ต้องจัดวัสดุเป็ นชุด แยกออกจากกัน
อุปกรณ์ Carousels อุปกรณ์ประเภทนี้มีลักษณะการเคลื่อน คล้ายกับประเภท Conveyor คือ เคลื่อนไปเรื่อย
ๆ อย่างต่อเนื่อง เพียงแต่อุปกรณ์ประเภทนี้จะหมุนวนรอบ เช่น การเคลื่อนย้ายที่มีหิ้งหรือชั้นเก็บ ของไปตามสายพาน
เป็นรอบ ลักษณะการเคลื่อนมีทั้งแบบหมุนวนในแนวราบและในแนวดิ่งแนวราบ
5. งานที่สามารถควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์ที่ความมีประสิทธิภาพ
อุปกรณ์ Automated Guided Vehicle Systems (AGV) อุปกรณ์ประเภท AGV มีลักษณะคล้ายอุปกรณ์ประเภท
Industrial Truck แตกต่างที่ AGV ถูกควบคุมโดยคอมพิวเตอร์ และถูกก าหนดเส้นทางการเดินทางที่ชัดเจน ไม่ต้องใช้
คนขับ การเลือกใช้อุปกรณ์ประเภท AGV มักต้องลงทุนสูง ทั้งค่าคอมพิวเตอร์ที่ใช้ควบคุม การติดตั้งเส้นทางซึ่งอาจมีการ
ฝังสายไว้ใต้พื้นตามเส้นทาง และตัวรถ AGV เอง การควบคุมอุปกรณ์ประเภท AGV สามารถควบคุมได้หลาย ๆ คันโดยใช้
คอมพิวเตอร์ควบคุมเพียงชุดเดียว และ AGV แต่ละคันสามารถสื่อสารถึงกันได้ เช่น เพื่อหลีกเลี่ยงการชนกันเอง หรือเพื่อ
ป้องกันการกีดขวางการจราจร หากอีกคันยังอยู่ในจุดรับส่งวัสดุ
6. งานจ ากัดพื้นที่ ไม่ได้ท าการขนย้ายเป็ นประจ า วัสดุมีขนาดรูปร่างขนาดต่างกัน
อุปกรณ์ประเภทปั้นจั่นและลูกรอก มีความเหมาะสมกับลักษณะงานที่มีความจ ากัดส าหรับพื้นที่ในแนวราบ
การขนถ่ายกระท าเป็นครั้งคราว ไม่จ าเป็นต้องท าอย่างต่อเนื่องสม่ าเสมอ และวัสดุที่ถูกขนถ่ายมีรูปร่างที่แตกต่างไม่
แน่นอน เช่น การขนย้ายชิ้นส่วนขนาดใหญ่ในโรงงานที่มีพื้นที่ในแนวราบที่จ ากัด สามารถใช้ลูกรอกติดตั้งบนเพดาน
เอกสารประกอบการเร ียน วิชา การขนถ่ายว ัสด ุ 3100 – 01XX 36
เพื่อการขนย้าย ในบางครั้งอุปกรณ์ประเภทนี้สามารถใช้ในการขนย้ายวัสดุที่มีน้ าหนักมาก เช่น แม่พิมพ์ เครื่องจักร
ชิ้นงานขนาดใหญ่ ฯลฯ
เครน ลูกรอก
7. งานที่มีปริมาณมาก อย่ที่สู ูง
งานชนิดนี้ ควรใช้หุ่นยนต์ ที่มีการควบคุมสั่งการท างาน ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์อัตโนมัติ สามารถท างาน
ได้หลายรูปแบบ มีปริมาณงานจ านวนมากต่อเนื่อง หรือจะเป็นงานที่อยู่ในที่ค่อนข้างสูง เช่น การเคลื่อนหรือหมุน
วัสดุในการเชื่อมชิ้นส่วน
ฉะนั้น การจัดการระบบการขนถ่ายวัสดุ ถือว่ามีความส าคัญอย่างยิ่งในองค์กรการผลิต ถึงแม้ว่า การขนถ่าย
วัสดุ จะไม่สามารถเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าก็ตาม แต่ก็มีผลต่อการบริการการผลิตของโรงงานได้เช่นกัน การจัดระบบ
การขนย้าย หรือการเคลื่อนย้าย วัสดุ วัตถุดิบ สินค้า ฯลฯ โรงงานอุตสาหกรรมจะต้องพิจารณาให้รอบคอบ ในการ
เลือกใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม สามารถลดปัญหาการหยุดกระบวนการผลิต การซ่อมบ ารุง ลดต้นทุนในการผลิต
และความสูญเสียในรูปแบบของพลังงานที่ใช้ระยะยาวของโรงงานอุตสาหกรรม ท าให้ภาพรวมซัพพลายเชนขององค์กรมี
ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
16. อุปกรณ์ที่ส าคัญในการยกย้ายและจัดเก็บในคลังสินค้า
สินค้าหรือผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่จะเก็บเข้าคลัง จะต้องถูกขนถ่าย เคลื่อนย้าย จากภายนอกเข้าสู่ภายใน จาก
หน้า คลังขึ้นไปเก็บในชั้นวางต่าง ๆ และเมื่อต้องการเบิกจ่าย ก็ต้องมีการเข้าไปเอาลงจากชั้นและขนย้ายออกมาสู่ท่า
เทียบรถและขนขึ้นรถ กิจกรรมทั้งหมด ย่อมต้องการเครื่องมือและอุปกรณ์หลายชนิด เสมือนหนึ่งเป็นเครื่องจักรใน
โรงงาน ซึ่งล าพังก าลังคนย่อมท ากิจกรรมเหล่านี้ได้จ ากัดและต้องใช้เวลามาก
เอกสารประกอบการเร ียน วิชา การขนถ่ายว ัสด ุ 3100 – 01XX 37
อุปกรณ์หลัก ๆ ที่ใช้ในการจัดเก็บเคลื่อนย้าย (Materials handling equipment) อาจแบ่งได้เป็น 4 กลุ่ม
ใหญ่ ดังนี้
1. อุปกรณ์ที่ใช้ส าหรับการรวมสินค้าเป็ นหน่วยใหญ่
ได้แก่ ลังพลาสติค(containers) ลังตะแกรงโลหะ (wire boxes) แพลเลทรองสินค้า (pallets) เป็นต้น ทั้งนี้
ขึ้นอยู่กับลักษณะของสินค้า หรือผลิตภัณฑ์แต่ละชนิด เช่น อะไหล่ หรือของกินของใช้ชิ้นเล็ก จนกระทั่งเป็นชิ้นส่วน
ขนาดใหญ่ หรือสินค้าที่บรรจุในกล่องกระดาษลูกฟูก เป็นต้น
การใช้ภาชนะเหล่านี้ ก็เพื่อรวมจ านวนสินค้าเข้าเป็นหน่วยใหญ่ เพื่อให้สามารถตักด้วยรถยกในครั้งเดียว
แทนที่การใช้ก าลังคนเคลื่อนย้ายทีละชิ้น ส่วนมากนิยมใช้แผ่นรองแพทเลท (pallet)
นอกจากนั้น ยังมีอุปกรณ์อื่น ๆ ที่เป็นเครื่องมือช่วยสนับสนุนการรวมหน่วยอีกหลายอย่าง เช่น สายรัด
ฟิลม์ห่อสินค้า ตลอดจนเครื่องจัดเรียงสินค้าขึ้นแพลเลทอัตโนมัติหรือแขนกลเรียงสินค้า เป็นต้น
2. อุปกรณ์ที่ใช้ส าหรับการจัดเก็บ
ได้แก่ ชั้นวางชนิดต่าง ๆ รวมไปถึงตู้ และขาตั้งแผงแขวนชนิดต่าง ๆ อุปกรณ์ชั้นวางถือได้ว่าเป็นอุปกรณ์หลัก
ในคลังสินค้าทุกแห่ง ชั้นวางสินค้า สามารถจ าแนกออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ คือ
Shelving System เป็นชั้นวางที่มีพื้นชั้นรองรับ ส่วนใหญ่จะเป็นชั้นวางขนาดกลางและเล็ก ซึ่งเหมาะส าหรับ
การจัดเก็บสินค้าที่เก็บไว้ในกล่องหรือลังพลาสติก ตัวสินค้าไม่ใหญ่ หรือไม่ได้รวมเป็นหน่วยใหญ่บน pallet
Racking System เป็นชั้นวางขนาดใหญ่ ซึ่งไม่มีพื้นชั้นในแต่ละระดับ แต่จะมีคานขวางหน้าหลังของตัวชั้น
แทน เพื่อรองรับการวางสินค้าด้วยแผ่นรอง pallet กลุ่มชั้นวางแบบ rack นี้ยังสามารถแบ่งออกได้หลายชนิด
ด้วยกัน ซึ่งแต่ละชนิดมีจุดประสงค์การใช้งานที่ต่างกันไป ตามความเหมาะสมของสินค้าเช่น ชนิด Selective rack มี
ลักษณะเลือกเบิกจ่ายได้คล่องตัว หากต้องการเก็บสินค้าจ านวนมากในแต่ละชนิด ก็อาจใช้แบบ Drive-in rack เป็นต้น
3. อุปกรณ์ที่ใช้ส าหรับการเคลื่อนย้าย
เอกสารประกอบการเร ียน วิชา การขนถ่ายว ัสด ุ 3100 – 01XX 38
ได้แก่ รถเข็น รถลากจูง ล้อเลื่อน และรถยกชนิดต่าง ๆ รวมทั้งสายพานล าเลียง อุปกรณ์กลุ่มนี้มีหลากหลาย
ชนิดเช่นกัน จะต้องเลือกใช้ให้เหมาะสม เราอาจแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ ได้ดังนี้
Industrial Truck ได้แก่ อุปกรณ์ทุกชนิดที่ติดล้อ อาจใช้คนเข็น ลากจูง หรือขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้าหรือ
เครื่องยนตร์รถยกอุตสาหกรรมถือเป็นแม่งานส าคัญของคลังสินค้า มีหลายชนิดตามสภาพการใช้งาน และมีระดับ
ความสามารถในการท างานต่างกัน ตั้งแต่ยกได้500 กก ไป จนกระทั่งหลายตัน และยกสูงได้ตั้งแต่ 1.5 เมตรไปจนกระทั่ง
สิบกว่าเมตร การวางแผนที่ดียังจะต้องพิจารณาว่า ปริมาณงานและความถี่ของการเคลื่อนย้ายทั้งหมดมีมากน้อย
เพียงใด ต้องใช้รถขนาดไหน จ านวนเท่าไหร่ จึงจะสามารถรับภาระงานทั้งหมดได้
Conveyor เป็นสายพานล าเลียง ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่ติดตั้งตามพื้นที่อย่างตายตัว ส่วนใหญ่จะใช้กับสินค้าที่แตก
ห่อเป็นชิ้นย่อยแล้ว หรือในพื้นที่คลังที่มีการเบิกจ่าย และรวมหีบห่อใหม่ตามค าสั่งซื้อ สามารถท าให้การขนย้าย
สินค้าไหลลื่น โดยที่คนอยู่กับที่ได้เหมาะกับคลัง ที่มีลักษณะการเบิกจ่ายด้วยความถี่สูง ชนิดสินค้าไม่หลากหลาย
มีขนาดหรือมีอัตราน้ าหนักใกล้เคียงกัน การใช้สายพานล าเลียงสามารถเสริมประสิทธิภาพการท างานได้อย่างมาก
เช่นกัน จุดอ่อนที่ส าคัญคือ อุปกรณ์ชนิดนี้จะตั้งตายตัว กินพื้นที่ ขาดความยืดหยุ่นในการใช้งาน
4. อุปกรณ์ที่ใช้ส าหรับการขึ้นลงของที่หน้าคลัง
ส าหรับคลังสินค้ามาตรฐาน การขนส่งสินค้าเข้าและออกจากคลังมีความถี่สูง จึงมีความจ าเป็นอย่างยิ่งที่
จะต้องค านึงถึงการสร้างท่าเทียบรถ (dock ) ส าหรับการขึ้นลงสินค้า มิฉะนั้นช่วงจังหวะการขนสินค้าขึ้นลงรถขนส่ง จะ
เสียเวลามาก จะกลายเป็นคอขวดที่เป็นอุปสรรคต่อการไหลของสินค้า
เอกสารประกอบการเร ียน วิชา การขนถ่ายว ัสด ุ 3100 – 01XX 39
อุปกรณ์ที่ใช้ส่วนใหญ่จะเป็นอุปกรณ์ที่ต้องติดยึดอยู่กับประตูทางเข้าออก ได้แก่ พื้นระดับท่าเทียบ (dock
leveler) ซึ่งสามารถปรับระดับให้มีความสูงเท่ากับท้ายรถขนส่งชนิดต่าง ๆ ได้ และพร้อมที่จะให้รถยกวิ่งเข้าไปหรือขึ้นไป
ในรถขนส่งเพื่อตักของได้โดยตรง นอกนั้นยังมีอุปกรณ์เกี่ยวยึดตัวรถขนส่งไม่ให้เคลื่อนตัวในขณะขึ้นลงสินค้า ระบบ
ไฟสัญญาณแสดงการท างาน ฯลฯ
ในคลังสินค้าบางแห่งที่ไม่ได้สร้างท่าเทียบที่ สามารถปรับระดับความสูงไว้ ก็อาจเป็นท่าเทียบตายตัว ซึ่ง
เหมาะกับรถขนส่งขนาดเดียวที่เป็นรถประจ า หรืออาจต้องเสริมด้วยอุปกรณ์อื่น ๆ เช่น สะพานพาดท้ายรถ แท่นยกไฮดรอ
ลิค หรือไม่เช่นนั้น ก็ต้องอาศัยรถขนส่งที่มีอุปกรณ์ติดท้ายพิเศษ เช่น รถเทวลเกรต (tailgate) รถเครน (mobile crane) ที่
สามารถช่วยยกขึ้นลงหรือหิ้วขึ้นลงได้
17. สรุป การเลือกอุปกรณ์การขนถ่ายวัสดุ เลือกอย่างไรให้เหมาะสมกับการใช้งาน
1. Conveyor อุปกรณ์ประเภทนี้มีอยู่หลายรูปแบบ เช่น รางส่ง ลูกกลิ้ง โซ่ส่ง สายพาน ฯลฯ ลักษณะ
ของการใช้งานเพื่อให้มีการเคลื่อนย้ายอย่างต่อเนื่องในเส้นทางที่ไม่เปลี่ยนแปลง (แต่อาจมีการเปลี่ยนทิศทางได้) โดยปกติ
มักใช้ในงานที่มีการเคลื่อนย้ายบ่อยๆ แต่ระยะในการเคลื่อนย้ายไม่ไกลจนเกินไป ทั้งนี้เนื่องจากค่าใช้จ่ายในการติดตั้ง
และค่าอุปกรณ์ ประเภท conveyor จะขึ้นกับชนิด และความยาวของระยะทางด้วย ส าหรับการติดตั้งอุปกรณ์ conveyor
จะมีทั้งแบบติดเพดาน (เหมาะกับการย้ายชิ้นส่วนขนาดใหญ่) แบบติดตั้งบนพื้น (เช่น ใช้ขนย้ายกล่อง หรือตู้คอนเทน
เนอร์) การเคลื่อนย้ายอาจอาศัยแรงโน้มถ่วง หรือเป็นแบบที่ใช้พลังงานขับเคลื่อน (เช่น มอเตอร์)
2. Industrial Vehicles อุปกรณ์ประเภทนี้ มีทั้งที่แบบลากจูง ใช้แรงดัน หรือขับเคลื่อนด้วย
มอเตอร์ เช่น รถเข็น รถลากจูงแบบมีขบวนพ่วง รถยกปากส้อม ฯลฯ อุปกรณ์ประเภทนี้สามารถใช้เคลื่อนย้ายทั้งแบบหนึ่ง
จุดเริ่มต้น-หนึ่งจุดหมาย (single load) หรือหลายจุดเริ่มต้น-หลายจุดหมาย (multiple loads) การเคลื่อนย้ายแบบ
single load หมายถึง การขนย้ายแต่ละครั้งมีจุดเริ่มต้น และที่หมายเพียงอย่างละจุดเท่านั้น อุปกรณ์ที่ใช้อาจเป็นรถเข็น
หรือรถยกปากส้อม ส่วนแบบที่เป็น multiple load นั้น อาจมีหลายจุดเริ่มต้น และหลายจุดหมายในแต่ละครั้งของการขน
ย้าย เช่น อาจมีการหยิบของจากหลายๆ จุด ไปส่งยังหลายๆ ที่ โดยอุปกรณ์ในการขนย้ายได้แก่ รถลากจูงแบบมีพ่วง
(ลักษณะคล้ายรถไฟ ที่มีหลายตู้ขบวนติดๆกัน) หรือรถเข็น (เช่น ใช้ในลักษณะงานเหมือนการเลือกของในซูเปอร์มาเก็ต)
อุปกรณ์ประเภท Industrial Vehicles เหมาะกับการใช้ขนย้ายแบบที่สามารถเปลี่ยนแปลงเส้นทางได้ ทั้งนี้ ในการ
เลือกใช้อุปกรณ์ประเภทนี้ต้องค านึงถึงความกว้างของช่องทางด้วย
3. Automated storage/retrieval systems (AS/RS)อุปกรณ์ประเภทนี้มักใช้ในการขนย้ายวัสดุ โดยการ
น าวัสดุไปเก็บ (store) และน าวัสดุออกมา (retrieve) แบบอัตโนมัติ จากที่จัดเก็บประเภทหิ้งจัดเก็บ (storage rack)
โดยมีต าแหน่ง/บริเวณที่เครื่อง AS/RS มารับวัสดุไปจัดเก็บ (pickup station) และจุดที่น าวัสดุจากหิ้งจัดเก็บไปส่งเมื่อ
วัสดุนั้นถูกเรียกใช้ (deposit station) อย่างชัดเจน อุปกรณ์แบบ AS/RS เหมาะกับงานที่ต้องการการจัดเก็บและเรียกใช้
วัสดุหลากหลายแบบ ในหิ้งจัดเก็บที่หนาแน่นมากๆ การเลือกใช้อุปกรณ์แบบ AS/RS จะมีทั้งแบบใช้ AS/RS เครื่องเดียว
ต่อการจัดเก็บ 1 ช่องทาง (aisle) ใช้ AS/RS เครื่องเดียวต่อการจัดเก็บหลายช่องทาง หรือใช้ AS/RS หลายเครื่องในการ
จัดเก็บ 1 ช่องทาง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของพื้นที่จัดเก็บ ความถี่ในการจัดเก็บและเรียกใช้วัสดุ โดยทั่วไปแล้ว
ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการจัดเก็บและเรียกใช้ของอุปกรณ์แบบ AS/RS จะพิจารณาจากลักษณะโครงสร้างของ
หิ้งที่ใช้จัดเก็บ ความเร็วในการเคลื่อนของอุปกรณ์ AS/RS ทั้งในแนวดิ่งและแนวราบ
เอกสารประกอบการเร ียน วิชา การขนถ่ายว ัสด ุ 3100 – 01XX 40
4. Carousels อุปกรณ์ประเภทนี้มีลักษณะการเคลื่อนคล้ายกับประเภท Conveyor คือ เคลื่อนไปเรื่อยๆ
อย่างต่อเนื่อง เพียงแต่อุปกรณ์ประเภทนี้จะหมุนวนรอบ เช่น การเคลื่อนย้ายที่มีหิ้งหรือชั้นเก็บของไปตามสายพานเป็น
รอบ ลักษณะการเคลื่อนมีทั้งแบบหมุนวนในแนวราบและในแนวดิ่ง อุปกรณ์ประเภทนี้ถูกน ามาใช้ในการจัดวัสดุเป็นชุด
หรือใช้แยกวัสดุ ลักษณะของอุปกรณ์ประเภทนี้คล้ายกับสายพานล าเลียงกระเป๋าเดินทางตามสนามบิน ที่วนไปเป็นรอบ
5. Automated guided vehicle systems (AGV) อุปกรณ์ประเภท AGV มี
ลักษณะคล้ายอุปกรณ์ประเภท Industrial Truck แตกต่างที่ AGV ถูกควบคุมโดยคอมพิวเตอร์ และถูกก าหนดเส้นทาง
การเดินทางที่ชัดเจน ไม่ต้องใช้คนขับ การเลือกใช้อุปกรณ์ประเภท AGV มักต้องลงทุนสูง ทั้งค่าคอมพิวเตอร์ที่ใช้ควบคุม
การติดตั้งเส้นทางซึ่งอาจมีการฝังสายไว้ใต้พื้นตามเส้นทาง และตัวรถ AGV เอง การควบคุมอุปกรณ์ประเภท AGV
สามารถควบคุมได้หลายๆ คันโดยใช้คอมพิวเตอร์ควบคุมเพียงชุดเดียว และ AGV แต่ละคันสามารถสื่อสารถึงกันได้ เช่น
เพื่อหลีกเลี่ยงการชนกันเอง หรือเพื่อป้องกันการกีดขวางการจราจร หากอีกคันยังอยู่ในจุดรับส่งวัสดุ
6. Cranes and hoists หรืออุปกรณ์ประเภทปั้นจั่นและลูกรอก อุปกรณ์ประเภทนี้จะมีความ
เหมาะสมกับลักษณะงานที่มีความจ ากัดส าหรับพื้นที่ในแนวราบ การขนถ่ายกระท าเป็นครั้งคราวไม่จ าเป็นต้องท าอย่าง
ต่อเนื่องสม่ าเสมอ และวัสดุที่ถูกขนถ่ายมีรูปร่างที่แตกต่างไม่แน่นอน ตัวอย่างการใช้งานของอุปกรณ์ประเภทปั้นจั่นและ
ลูกรอกได้แก่ การขนย้ายชิ้นส่วนขนาดใหญ่ในโรงงานที่มีพื้นที่ในแนวราบที่จ ากัดสามารถใช้ลูกรอกติดตั้งบนเพดานเพื่อ
การขนย้าย ในบางครั้งอุปกรณ์ประเภทนี้สามารถใช้ในการขนย้ายวัสดุที่มีน้ าหนักมาก เช่น แม่พิมพ์ขนาดใหญ่ รวมถึงการ
เคลื่อนย้ายเครื่องจักรในโรงงาน ส าหรับตัวอย่างของอุปกรณ์ในประเภทนี้จะได้แก่ Overhead Traveling Crane,
Gantry Crane, Jib Crane และ Hoist เป็นต้น
7.Robots หรือที่เรามักเรียกว่าหุ่นยนต์ อุปกรณ์ประเภทนี้อาจถูกตั้งโปรแกรมให้ท างานได้หลายๆ แบบ
เช่น ใช้เคลื่อนหรือหมุนวัสดุในการเชื่อมชิ้นส่วน การใช้หุ่นยนต์มักเป็นการเคลื่อนย้ายทีละชิ้นงานมากกว่าที่จะเป็นการ
เคลื่อนย้ายวัสดุจ านวนมาก อุปกรณ์ประเภทนี้มักต้องลงทุนสูง ซึ่งการใช้งานอาจต้องค านึงถึงความจ าเป็นต่างๆ ประกอบ
เช่น ความปลอดภัย หรืองานที่ต้องการความแม่นย าสูง เป็นต้น
18. ข้อพิจารณาในการปรับใช้
การเลือกใช้อุปกรณ์ชนิดต่างๆ จักต้องดูปัจจัยหลายๆ อย่างประกอบกัน โดยต้องค านึงถึงราคาและต้นทุน ชนิด
ของอุปกรณ์ ลักษณะ ขนาดและปริมาณของชิ้นงาน พื้นที่และผังโรงงาน ความบ่อยและความต่อเนื่องของการขนถ่าย รวม
ไปถึงความยืดหยุ่นของเส้นทางที่ใช้ในการล าเลียง จึงจะเหมาะสมและมีประสิทธิภาพที่สุด
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น